Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หยั่งเชิง, หยั่ง, เชิง , then ชง, เชิง, หยง, หยงชง, หยั่ง, หยั่งเชิง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หยั่งเชิง, 92 found, display 1-50
  1. จุมฺพฏ, - ฏก : นป. เทริด, เชิง, เครื่องรองภาชนะ, หมอน
  2. ปาท : ป., นป. เท้า, เชิง, เสี้ยว, เศษหนึ่งส่วนสี่; ราก, ปุ่ม
  3. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  4. ธารก : (ปุ.) การทรง, ฯลฯ, ความทรง, ฯลฯ, ความทนทานได้, เชิง (ตีนซึ่งเป็นฐานที่ ตั้งของ). ธาร+ก สกัด.
  5. ปฏิปาทก : ป. ผู้ให้สำเร็จ, ผู้จัดแจง, ผู้จัดหา; เชิง (เตียง), ที่รอง (เตียง)
  6. อาธาร : (ปุ.) เชิง (เครื่องรองภาชนะทั่ว ๆไป), เชิงบาตร (ขาบาตร), อาธาระเป็นคำเรียกสัมพันธ์บทที่ประกอบด้วยสัตมีวิภัติ (อธิกรณ), การอุปถัมภ์, อ่าง, หม้อน้ำ, ที่ขังน้ำสระ, ร่องน้ำรอบโคนต้นไม้ (อาลวาลก).อาปุพฺโพ, ธรฺธารเณ, โณ.
  7. กมฺพล : (ปุ.) ผ้าทอด้วยขนสัตว์, ผ้าขนสัตว์, ผ้ากัมพล (ผ้าขนสัตว์ชนิดหนึ่ง), กัมพล ชื่อนาคที่อยู่เชิงเขาสุเมรุ. กมุกนฺติยํ, อโล, พฺอาคโม. อภิฯ กัจฯ และรูปฯ เป็น กมฺพฺ สญฺจลเน, อโล. ส. กมฺพล.
  8. กุลงฺกปาทก : ป. กรอบเชิงฝา
  9. เกวล : (วิ.) เดียว, อย่างเดียว, ทั้งปวง, ทั้งมวล ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, สิ้นเชิง, มาก, ส่วนมาก, จำนวนมาก,ไม่ระคน, ล้วน, ล้วนๆ, แข็งแรง ,มั่นคง, โดยมาก, ไกวัล. เกวฺ ชนเน, อโล.
  10. เกวลปริปุณฺณ : ค. บริบูรณ์โดยสิ้นเชิง, ครบบริบูรณ์
  11. เกวลี : ค. ผู้หมดกิเลสโดยสิ้นเชิง (พระอรหันต์)
  12. คพฺภาวกฺกนฺติ : (อิต.) การย่างลงสู่ครรภ์, การหยั่งลงสู่ครรภ์, การก้าวลงสู่ครรภ์.
  13. คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
  14. คาธติ : ก. หยั่งลง, ตั้งมั่น
  15. จงฺโกฏก จงฺโคฎก : (ปุ.) ผอบ (ตลับมีเชิง มี ยอด), หีบ, เตียบ (ตะลุ่มปากผายมีผ้า ครอบ สำหรับใส่ของกิน). กุฎฺ เฉทเน, โณ, สกตฺเถโก. เทว๎ภาวะ ก นิคคหิต- อาคม. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ค.
  16. จิตก : (ปุ.) เชิงตะกอน ( ฐานสำหรับเผาศพ ) วิ. จิยฺยเต ยตฺถ โส จิตโก. จิ จเย, โต สตฺเถ โก. เป็น จิตกา ( อิต.) ก็มี.
  17. จิตกาธาร : (ปุ.) เชิงตะกอน, ที่เผาศพ.
  18. จิตา : (อิต.) เชิงตะกอน วิ. จิยฺยเต ยตฺถ สา จิตา. จิ จเย, โต, อิตฺถิยํ อา.
  19. จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
  20. ตุงฺคี : (ปุ.) เงื้อม งะเงื้อม ( สิ่งที่สูงง้ำออกมา), เชิงผา, กลางคืน, ขมิ้น, สิ่งที่แฉลบ เหมือนกบไสไม้ ? ตุชฺ หึสาสหเณสุ, อี.
  21. ทุทฺทส : (วิ.) อัน...เห็นได้โดยยาก, เห็นยาก, เห็นได้ยาก (ยากที่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จะหยั่งรู้หยั่งเห็น). วิ. ทุกฺเขน ปสฺสิตพฺโพติ ทุทฺทโส. ทุกฺข+ทิสฺ +ข ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทส ลบ กฺข และ ปัจ. ซ้อน ทฺ.
  22. นทีทุคฺค : นป. สถานที่ซึ่งเข้าไม่ถึงเพราะมีน้ำ, การหยั่งไปยากในแม่น้ำ, หล่ม
  23. นิปฺปริยาย : ค. ไม่แตกต่าง, ไม่อ้อมค้อม, แน่ชัด, ตรงไปตรงมา, สิ้นเชิง
  24. นิพฺพาโนคธ : ค. ซึ่งหยั่งลงสู่พระนิพพาน
  25. ปตฺตกณฺโฑลิกา : อิต. หม้อเก็บบาตร, กระชุสำหรับเก็บบาตร, เชิงรองบาตร
  26. ปตฺตมาฬก : ป. แท่นเก็บบาตร, เชิงบาตร
  27. ปตฺตาธาร : (ปุ.) เชิงบาตร, ตีนบาตร.
  28. ปตฺตาธารก : นป. เชิงรองบาตร, ตีน, หรือฝาบาตร
  29. ปพฺพตปาท : ป. ตีนเขา, เชิงเขา
  30. ปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนดรู้, ปัญญาเป็นเครื่องกำหนดรู้, ความกำหนดรู้, ความรู้รอบ, ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบคอบ. ปริ+ญา+อ ปัจ. ซ้อน ญฺ อา อิต. ไทย ปริญญา หมายถึงชั้นความรู้ ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ซึ่งมีกฎหมาย กำหนดให้ให้ปริญญาได้ ประสาทให้แก่ผู้ที่ สอบความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้. ส. ปรีชฺญา.
  31. ปริยาปนฺน : กิต. นับเนื่องแล้ว, หยั่งลงแล้ว, ถึงที่สุดแล้ว
  32. ปริโยคาหติ : ก. หยั่งดู, หยั่งลง, ดำ, รุกเข้าไป
  33. ปริโยคาหน : นป. การหยั่งดู, การหยั่งลง, การรุกเข้าไป
  34. ปริโยคาฬฺห : กิต. หยั่งแล้ว, หยั่งลงแล้ว, รุกเข้าไปแล้ว, ดำแล้ว
  35. ภิตฺติปาท : ป. เชิงฝา
  36. มญฺชิฏฺฐ : (ปุ.) กองเชิง, ตัวด้วง, ไม้ช้าง, ไม้มะหาด.
  37. โยคาวจร : (ปุ.) บุคคลผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ภิกษุผู้หยั่งลงสู่ความเพียร คือท่านผู้เรียนสมถวิปัสนา และปฏิบัติสมถะหรือวิปัสสนา.
  38. วิคยฺห : กิต. หยั่งลงแล้ว
  39. วิคาหติ : ก. หยั่งลง
  40. วิคาหน : นป. การหยั่งลง
  41. สุทฺธ : (วิ.) ไม่เจือปน, หมดจด, แจ่มใส, ผ่องแผ้ว, สะอาด, บริสุทธิ์, ล้วน, ล้วน ๆ, แท้, สิ้นเชิง, ผุดผ่อง. สุทธฺ โสเจยฺเย, โต, ทฺวิตฺตํ, ธโลโป.
  42. โสปานปาท : ป. เชิงบันได
  43. อคฺคธ : (วิ.) หยั่งไม่ถึง, ลึก. น+คธ ซ้อน คฺ.
  44. อคาธ : (วิ.) หยั่งไม่ได้, หยั่งไม่ถึง, ลึก, ลึกมาก. นปุพ.โพ, คาธ. ปติฏฐากํขาสุ, อ. ส.อคาธ.
  45. องฺคาร : (ปุ.) ถ่าน, ถ่านเพลิง, เถ้า.วิ. องฺคติหานึ คจฺฉตีติ องฺคาโร. องฺคฺ คมเน, อาโรเป็นนปุ.ก็มี เชิงตะกอน ก็แปล. ส. องฺคาร.
  46. อชฺโฌคาหติ : ก. หยั่งลง, จมลง, โฉบลง, เข้าไป
  47. อชฺโฌคาฬฺห : (ปุ.) การหยั่งลง.อธิโอ ปุพฺโพ, คาหุวิโลฬเน, โต. ธาตุมีหเป็นที่สุด แปลงต เป็น หแปลงที่สุดธาตุเป็นลแปลง ล เป็น ฬรูป ฯ ๖๐๕หรือลง ฬปัจ.แล้วเปลี่ยนอักษรหรือแปลงต ปัจ. เป็น ฬฺหแล้วลบที่สุดธาตุตามบาลีไวยากรณ์.
  48. อชฺโฌสาน : (นปุ.) การหยั่งลง, ความหยั่งลง.ความติดใจ, ความชอบใจ, ความพอใจ.อธิ อว ปุพฺโพ, สา โอสานอสฺสาทเนสุ, ยุ
  49. อตลมฺผสฺส : (วิ.) ไม่ยั่งยืน, ลึก, หยั่งไม่ถึง.
  50. อทฺทาลก : (นปุ.) เชิงเทิน, หอรบ.อทฺทฺหึสายํ, อาโล, สตฺเถ โก.
  51. [1-50] | 51-92

(0.0665 sec)