Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หยุดนิ่ง, หยุด, นิ่ง , then นง, นิ่ง, หยด, หยดนง, หยุด, หยุดนิ่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หยุดนิ่ง, 72 found, display 1-50
  1. นิรีห, นิรีหก : ค. ไม่เคลื่อน, ไม่หวั่นไหว, นิ่ง, อยู่เฉยๆ
  2. อสทฺท : (วิ.) ไม่มีเสียง, นิ่ง, สงบ, เงียบ.
  3. คติปฏิฆาต : (วิ.) กำจัดการไป, หยุด, ฯลฯ.
  4. ฐเปติ : ก. วาง, ตั้งไว้, หยุด, เว้น, กำหนดตั้ง, แต่งตั้ง, บรรจุ
  5. ติฏฺฐติ : ก. ยืน, ตั้ง, พัก, ดำรง, หยุด
  6. ปฏิวฺยาหรติ : ก. บอกคืน, เลิก, หยุด
  7. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  8. อภิสมฺมติ : ก. สงบ, ระงับ, หยุด
  9. อล (หล) : ๑. อ. พอ, เพียงพอ, หยุด, อย่าเลย ; ๒. ค. สามารถ, ควร, แน่นอน, เหลือคณนา, นับไม่ได้
  10. ตุณฺห : (วิ.) นิ่ง ( เฉย เงียบ ไม่กระดุกกระดิก ไม่เคลื่อนไหว). ตุหฺอทฺทเน,โณฺห,หโลโป. อทฺทน แปลว่า เบียดเบียน ทำอันตราย ในที่นี้หมายความว่า เบียดเบียนความดัง หรือความเคลื่อนไหว.
  11. ตุณฺหี : (วิ.) มีความนิ่ง วิ. ตุโณฺห เอตสฺสาตฺถีติ ตุณฺหี. นิ่ง วิ. โตหตีติ ตุณฺหี. ณิ ปัจ.ไม่ลบ ณฺ แปรไว้หน้า หฺ หฺ+อิ เป็น หิ ทีฑะ เป็น หี. ไทยใช้ ดุษฏี หมายถึง อาการนิ่งที่ แสดงอาการยอมรับ. ส. ตุษณีมฺ.
  12. ตุณฺหิกฺขก : ค. นิ่ง, เงียบ, ไม่มีเสียง, ดุษณี
  13. กายโมเนยฺย : นป. ความเป็นปราชญ์ด้วยการทรมานกาย; ข้อปฏิบัติที่ให้ถึงความเป็นผู้นิ่งได้ด้วยการฝึกหัดกาย
  14. ขณิกสมาธิ : (ปุ.) สมาธิชั่วขณะ คือจิตที่ตั้งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วครั้งชั่วคราว จิตที่นิ่งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วคราว.
  15. ขนฺติก : ค. ผู้อดทน, ความนิ่งเฉย
  16. คตินิวตฺติ : (อิต.) การห้ามการไป, การหยุด, ฯลฯ.
  17. : (วิ.) หยุด, หยุดอยู่, ยืน, ยืนอยู่, ตั้ง, ตั้งอยู่,
  18. ฐปน : นป., ฐปนา อิต. การตั้งขึ้น, การยกขึ้น, การวางไว้, การรักษาไว้, การแต่งตั้ง, การสถาปนา; การงด, การหยุดไว้ (ในคำว่า ปาฏิโมกฺขฐปน การงดสวดปาฏิโมกข์)
  19. ฐปาเปติ : ก. ให้ตั้งไว้, ให้วางไว้,ให้หยุด
  20. ฐาน : นป. ฐานะ, การตั้งอยู่, การดำรงอยู่, การหยุดอยู่, ที่ตั้ง, หลักแหล่ง, ตำแหน่ง, เหตุ, โอกาส
  21. ฐายิ : (วิ.) หยุดอยู่, ยืนอยู่, ตั้งอยู่, ดำรงค์อยู่. ฐา ธาตุ อิ ปัจ. แปลง อา เป็น อาย.
  22. ฐิต : (นปุ.) การหยุด, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ. ฐาธาตุ ต ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  23. ฐิ ติ : (อิต.) การหยุด, การหยุดไว้, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ, ความอดทน, ความทนทาน, ความมั่นคง, ความแน่นอน, ความเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่, ฐานะ, เหตุ, ข้อบังคับ, ข้อ บัญญัติ, ประธานกริยา. วิ. ฐานํ ฐิติ. ฐา+ ติ ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  24. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  25. ตุณฺหีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความนิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ความเป็น ผู้นิ่ง. วิ. ตุณฺหิสฺส ภาโว ตุณฺหีภาโว. ตุณฺหี ภวนํ วา ตุณฺหีภาโว. ไทยใช้ ดุษณีภาพ หมายถึง อาการนิ่งที่แสดงอาการยอมรับ.
  26. ตุณฺหีภูต : (วิ.) เป็นผู้มีความนิ่งเป็นแล้ว, เป็นผู้นิ่งเป็นแล้ว.
  27. ถาน : (วิ.) หยุด, หยุดอยู่, ยืน, ยืนอยู่, ตั้ง, ตั้งอยู่, ดำรง, ดำรงอยู่, คง, คงอยู่.
  28. นิรุมฺภติ : ก. ปราบปราม, ระงับ, ทำให้เงียบ, นิ่งเงียบ
  29. นิวตฺเตติ : ก. ให้กลับ, ให้หยุดอยู่เบื้องหลัง
  30. ปนฺนก : ค. ผู้เงียบ, ผู้นิ่ง
  31. ปาฏิโมกฺขฐปน : นป. การหยุดสวดปาฏิโมกข์
  32. ปาฏิหาริยปกฺข : ป. วันหยุดงานพิเศษ คือ วัน ๗ ค่ำ, ๙ ค่ำ, ๑๓ ค่ำ, และ ๑ ค่ำ
  33. มุจฺฉา : (อิต.) ความวิงเวียน, ความสยบ (ฟุบลง) , ความสลบ (แน่นิ่ง หมดความรู้สึก), การวิงเวียน, การเป็นลม. มุจฺฉฺ โมหสมุสฺสเยสุ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  34. โมน : (นปุ.) ความนิ่ง, ความสงบ. วิ. มุนิโน กมฺมํ โมนํ. ณ ปัจ.
  35. โมนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้, ฯลฯ. โมน+ภาว. ความเป็นแห่งมุนี, ความเป็นมุนี. มุนี+ภาว. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง อี เป็น อ.
  36. วฺยนฺตีภวติ : ก. หยุด, ถึงที่สุด
  37. สณฺฐหน : นป. การหยุดพัก, การสร้างขึ้น
  38. อนฺตราล, อนฺตราฬ : นป. ภายในระหว่าง, ระหว่างการหยุดพัก
  39. อนิวตฺตน : นป. การไม่หยุด, การไม่กลับ
  40. อนุปสณฺฐปนา : อิต. ไม่หยุดอยู่, ความเป็นไปไม่ขาดระยะ
  41. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  42. อภาสน : (นปุ.) การไม่พูด, ความนิ่ง.
  43. อวฏฺฐิติ : (อิต.) ความหยุดอยู่, ความตั้งอยู่, ความดำรงอยู่.อวปุพฺโพ, ฐาตคินิวตฺติยํ, ติ, อาสฺสิ (แปลงอาเป็นอิ), ฏฺสํโยโค.
  44. อวติฏฺฐติ : ก. ตั้งลง, ยึดมั่น, ยืนนิ่ง
  45. อวรต : ค. หยุด, งด
  46. อวสี : ๑. ค. ไม่มีอำนาจ ; ไม่ชำนาญ ; ควบคุมไม่ได้ ; ๒. ก. ได้หยุดพักอยู่แล้ว
  47. อารติ : (อิต.) การงด, การเว้น, การงดเว้น, การเลิก, การหยุด, ความงด, ฯลฯ.วิ.ทูรโตวิรมณํอารติ.อาปุพฺโพ, รมุอุปรมเน, ติ, มุโลโป.ส.อารติ.
  48. อุทฺธต : กิต. ยกขึ้นแล้ว, ทำให้ฟุ้งขึ้นแล้ว, ไม่สงบนิ่งแล้ว
  49. อุปจฺฉินฺทติ : ก. ตัด, ทำลาย, หยุดชะงัก
  50. อุปจฺเฉท : ป. การตัด, การทำลาย, การหยุดชะงัก
  51. [1-50] | 51-72

(0.0700 sec)