Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลักทรัพย์, ทรัพย์, หลัก , then ทรัพย์, หลก, หลัก, หลักทรัพย์ .

Eng-Thai Lexitron Dict : หลักทรัพย์, more than 7 found, display 1-7
  1. securities : (N) ; หลักทรัพย์ ; Related:credit, funds
  2. keystone : (N) ; หลัก ; Related:แกน, แกนหลัก, หลักสำคัญ ; Syn:principle, main
  3. lien : (N) ; สิทธิในการครอบครองทรัพย์ของผู้อื่น (เพื่อเป็นหลักประกันการใช้หนี้)
  4. sharebroker : (N) ; นายหน้าหลักทรัพย์
  5. trust company : (N) ; ทรัสต์ (ทำธุรกิจเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์)
  6. chief : (ADJ) ; สำคัญ ; Related:หลัก ; Syn:main, leading
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : หลักทรัพย์, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : หลักทรัพย์, more than 7 found, display 1-7
  1. หลักทรัพย์ : (N) ; property ; Related:possession, estate ; Def:ตราสารหรือหลักฐานที่แสดงสิทธิในทรัพย์สิน ; Samp:การสะสมภาพเป็นการลงทุนอย่างหนึ่ง ซึ่งให้มูลค่าสูงกว่าหลักทรัพย์ใดๆ
  2. ทรัพย์ : (N) ; property ; Related:wealth, money, assets, possessions, treasures, riches, things, effects ; Syn:ทรัพย์สมบัติ, สินทรัพย์, ทรัพย์สิน, สมบัติพัสถาน ; Def:สิ่งที่มีค่า ; Samp:รัฐมนตรีท่านนี้เป็นหนึ่งในรัฐมนตรี ที่จะถูกอายัดทรัพย์
  3. หลัก : (N) ; main principle ; Related:basic, core, main theme ; Syn:หลักการ, แก่น ; Def:สาระสำคัญ ; Samp:หน้าที่ของศูนย์นี้หลักใหญ่ก็คือการช่วยเหลือในรูปของสวัสดิการ
  4. หลัก : (N) ; principle ; Related:tenet ; Syn:หลักการ, แก่น ; Def:สาระสำคัญ ; Samp:หน้าที่ของศูนย์นี้หลักใหญ่ก็คือ การช่วยเหลือในรูปของสวัสดิการ
  5. หลัก : (N) ; stake ; Related:post, pole ; Syn:เสา, ที่มั่น, ที่ผูก, หลักยึด ; Samp:เขาเอาเรือไปผูกไว้กับหลัก
  6. หลัก : (N) ; pole ; Syn:เสา, ที่มั่น, ที่ผูก, หลักยึด ; Samp:เขาเอาเรือไปผูกไว้กับหลัก
  7. หลัก : (ADJ) ; main ; Related:principal, major, chief, essential ; Syn:สำคัญ ; Samp:บทบาทของจอภาพเป็นอุปกรณ์หลักในการแสดงผล
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : หลักทรัพย์, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : หลักทรัพย์, more than 5 found, display 1-5
  1. หลักทรัพย์ : (กฎ) น. ตราสารหรือหลักฐานแสดงสิทธิในทรัพย์สิน เช่น ตั๋วเงินคลัง พันธบัตร ตั๋วเงิน หุ้น หุ้นกู้ หน่วยลงทุน ใบสำคัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุ้น ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นกู้ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หน่วยลงทุน.
  2. บริษัทหลักทรัพย์ : (กฎ) น. บริษัทหรือสถาบันการเงินที่ได้รับใบ อนุญาตให้ประกอบธุรกิจ หลักทรัพย์ เช่น การเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน การจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ การจัดการ กองทุนรวม.
  3. ทรัพย-, ทรัพย์ : [ซับพะยะ-, ซับ] น. เงินตรา เช่น ไม่มีทรัพย์ติดตัว, สมบัติพัสถาน เช่น เขาเป็นคนมีทรัพย์; (กฎ) วัตถุมีรูปร่าง; โดยปริยายหมายถึง สิ่งที่ถือว่ามีค่าอาจไม่มีรูปร่างก็ได้ เช่น มีปัญญาเป็นทรัพย์ อริยทรัพย์. (ส. ทฺรวฺย).
  4. หลัก : น. เสาที่ปักไว้, ที่ผูก, ที่มั่น, เช่น เอาเรือไปผูกไว้กับหลัก; เครื่องหมาย เช่น หลักเขต; เครื่องยึดเหนี่ยว เช่น มีธรรมะเป็นหลักในการดํารงชีวิต, เครื่องจับยึด เช่น หลักแจว; สาระที่มั่นคง เช่น พูดจาไม่มีหลัก หลัก กฎหมาย หลักเศรษฐศาสตร์.
  5. หลัก : น. ตําแหน่งของตัวเลขซึ่งแสดงจํานวน คือ ถ้าเป็นเลขตัวเดียว เรียกว่า จํานวนหน่วย เลข ๒ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนสิบ เลข ๓ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนร้อย เลข ๔ ตัวเรียงกัน เรียกว่าจํานวนพัน เลข ๕ ตัว เรียงกัน เรียกว่า จํานวนหมื่น เลข ๖ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนแสน เลข ๗ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนล้าน เช่น ๙๘๗ เป็นจํานวนร้อย ๙ เป็นเลขหลักร้อย หมายถึง ๙๐๐ ส่วน ๘ เป็นเลขหลักสิบ หมายถึง ๘๐ และ ๗ เป็นเลขหลักหน่วย หมายถึง ๗.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : หลักทรัพย์, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : หลักทรัพย์, more than 5 found, display 1-5
  1. หลักกำหนดธรรมวินัย : หลักตัดสินธรรมวินัย หรือลักษณะตัดสินธรรม วินัย ๘ อย่าง คือ ก.ธรรมเหล่าใด เป็นไป ๑.เพื่อความย้อมใจติด ๒.เพื่อความประกอบทุกข์ ๓.เพื่อความพอกพูนกิเลส ๔.เพื่อความมักมากอยากใหญ่ ๕.เพื่อความไม่สันโดษ ๖.เพื่อความคลุกคลีในหมู่ ๗.เพื่อความเกียจคร้าน ๘.เพื่อความเลี้ยงยาก, ธรรมเหล่านี้ พึงรู้ว่าไม่ใช่ธรรม ไม่ใช่วินัย ไม่ใช่สัตถุศาสน์, ข.ธรรมเหล่าใดเป็นไป ๑.เพื่อความคลายหายติด ๒.เพื่อความไม่ประกอบทุกข์ ๓.เพื่อความไม่พอกพูนกิเลส ๔.เพื่อความมักน้อย ๕.เพื่อความสันโดษ ๖.เพื่อความสงัด ๗.เพื่อการประกอบความเพียร ๘.เพื่อความเลี้ยงง่าย, ธรรมเหล่านี้พึงรู้ว่า เป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์
  2. จักกวัตติสูตร : ชื่อสูตรที่ ๓ แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระสุตตันตปิฎก พระพุทธเจ้าตรัสสอนภิกษุทั้งหลายให้พึ่งตน คือพึ่งธรรม ด้วยการเจริญสติปัฏฐาน ๔ ซึ่งจะทำให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้ดำเนินอยู่ในแดนของตนเองที่สืบมาแต่บิดา จะมีแต่ความดีงามเจริญขึ้นไม่เปิดช่องให้แก่มาร เช่นเดียวกับพระเจ้าจักรพรรดิที่ทรงประพฤติตามหลักจักรวรรดิวัตร อันสืบกันมาแต่บรรพชนของพระองค์ ย่อมทำให้จักรรัตนะบังเกิดขึ้นมาเอง, จักรวรรดิวัตร นั้นมี ๔ ข้อใหญ่ ใจความว่า ๑.พระเจ้าจักรพรรดิเป็นธรรมาธิปไตย และจัดการคุ้มครองป้องกันโดยชอบธรรม แก่ชนทุกหมู่เหล่าในแผ่นดิน ตลอดไปถึงสัตว์ที่ควรสงวนพันธุ์ทั้งหลาย ๒.มิให้มีการอันอธรรมเกิดขึ้นในแผ่นดิน ๓.ปันทรัพย์เฉลี่ยให้แก่ผู้ไร้ทรัพย์ ๔.ปรึกษาสอบถามการดีชั่ว ข้อควรและไม่ควรประพฤติ กะสมณพราหมณ์ ผู้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ อยู่เสมอ; จักรวรรดิวัตร ๔ ข้อนี้ บางทีจัดเป็น ๕ โดยแยกข้อ ๑.เป็น ๒ ข้อ คือ เป็นธรรมาธิปไตย ถือธรรมเป็นใหญ่อย่างหนึ่ง กับจัดการคุ้มครองป้องกันอันชอบธรรม อย่างหนึ่ง, นอกจากนั้น สมัยต่อมา อรรถกถาจัดแบ่งซอยออกไป และเพิ่มเข้ามาอีก รวมเป็น ๑๒ ข้อ เรียกว่า จักรวรรดิวัตร ๑๒ ; พระสูตรนี้ถือว่าเป็นคำสอนแสดงหลักวิวัฒนาการของสังคมตามแนวจริยธรรม กล่าวถึงหลักการปกครอง และหลักความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจกับจริยธรรม; เรื่องพระศรีอารยเมตไตรย ก็มีต้นเค้ามาจากพระสูตรนี้
  3. อริยทรัพย์ : ทรัพย์อันประเสริฐเป็นของติดตัว อยู่ภายในจิตใจ ดีกว่าทรัพย์ภายนอก เช่นเงินทอง เป็นต้น เพราะโจรหรือใครๆ แย่งชิงไม่ได้ และทำให้เป็นคนประเสริฐอย่างแท้จริง มี ๗ คือ สัทธา สีล หิริ โอตตัปปะ พาหุสัจจะ จาคะ ปัญญา
  4. กรุย : หลักที่ปักไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายกำหนดแนวทางหรือระยะทาง
  5. ขัตติยธรรม : หลักธรรมสำหรับกษัตริย์, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดิน
  6. Budhism Thai-Thai Dict : หลักทรัพย์, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลักทรัพย์, more than 5 found, display 1-5
  1. กีล : (นปุ.) การผูก, การพัน, การมัด, การรัด, ความผูก, ฯลฯ, เครื่องผูก, ฯลฯ, หลัก, สลัก, หอก, ข้อศอก, ลิ่ม. กีลฺ พนฺธเน, อ. ส. กีล.
  2. ขาณุก : ป. ตอไม้, หลัก, เสา
  3. ขาณุ ขานุ ขานุก : (ปุ. นปุ.) ตอ, ตอไม้, หลัก, หลักตอ. อภิฯวิ. ขญฺญติ อวทารียตีติ ขาณุ. ขณุ อวทารเณ, ณุ, ณสฺสา (แปลง ณ ตัวธาตุ เป็น อา). กัจฯ ๖๗๑ วิ. ขณิตพฺโพ อวทาริต- พฺโพติ ขาณุ ขานุ วา. กัจฯ และ รูปฯ ลง ณุ นุ ปปัจ. ตัวนี้ไม่ลบ ศัพท์หลังลง ก สกัด.
  4. จิลฺลก : ป. เสาเข็ม, หลัก, หมุด, เดือย
  5. ถูณ : (ปุ.) เสา, หลัก, หลักเป็นที่บูชายัญ. วิ. อภิตฺวียฺตีติ ถูโณ. ถุ ถู วา อภิตฺถเว, อูโณ. ธรฺ ธารเณ วา, ยุ, รฺโลโป, ธสฺส โถ, อสฺสุตฺตํ, ทีโฆ จ. ไม่ทีฆะเป็น ถุณ บ้าง.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : หลักทรัพย์, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : หลักทรัพย์, 3 found, display 1-3
  1. หลักฐาน, เหตุผล : สาปเทโส
  2. เป็นหลักฐาน : นิธานภูตา
  3. มีทรัพย์มาก : มหทฺธน

(0.2288 sec)