Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลักประกัน, ประกัน, หลัก , then ประกัน, หลก, หลัก, หลักประกัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลักประกัน, 66 found, display 1-50
  1. กีล : (นปุ.) การผูก, การพัน, การมัด, การรัด, ความผูก, ฯลฯ, เครื่องผูก, ฯลฯ, หลัก, สลัก, หอก, ข้อศอก, ลิ่ม. กีลฺ พนฺธเน, อ. ส. กีล.
  2. ขาณุก : ป. ตอไม้, หลัก, เสา
  3. ขาณุ ขานุ ขานุก : (ปุ. นปุ.) ตอ, ตอไม้, หลัก, หลักตอ. อภิฯวิ. ขญฺญติ อวทารียตีติ ขาณุ. ขณุ อวทารเณ, ณุ, ณสฺสา (แปลง ณ ตัวธาตุ เป็น อา). กัจฯ ๖๗๑ วิ. ขณิตพฺโพ อวทาริต- พฺโพติ ขาณุ ขานุ วา. กัจฯ และ รูปฯ ลง ณุ นุ ปปัจ. ตัวนี้ไม่ลบ ศัพท์หลังลง ก สกัด.
  4. จิลฺลก : ป. เสาเข็ม, หลัก, หมุด, เดือย
  5. ถูณ : (ปุ.) เสา, หลัก, หลักเป็นที่บูชายัญ. วิ. อภิตฺวียฺตีติ ถูโณ. ถุ ถู วา อภิตฺถเว, อูโณ. ธรฺ ธารเณ วา, ยุ, รฺโลโป, ธสฺส โถ, อสฺสุตฺตํ, ทีโฆ จ. ไม่ทีฆะเป็น ถุณ บ้าง.
  6. ปทก : ๑. ค. ผู้เข้าใจตัวบท, ผู้ชำนาญในบทพระเวท; ๒. นป. รากฐาน, มูลเค้า, หลัก; บท; คำ; ตาหมากรุก
  7. คณฺฑุ : (ปุ.) หลัก. คฑิ สนฺนิจเย, อุ.
  8. นโยปาย : (ปุ.) หนทางเป็นเครื่องนำไป, วิธี เป็นเครื่องนำไป, อุบายเป็นเครื่องนำไป, วิธีดำเนินการ. วิ. นโย อุปาโย นโยปาโย. ไทย นโยบาย ใช้ในความหมายว่า หลัก และวิธีปฏิบัติที่ถือเป็นแนวดำเนินการ.
  9. อธิจิตฺตสิกฺขา : (อิต.) ปฏิทาอัน..พึงศึกษา คือจิตยิ่ง, ข้อที่ควรศึกษาคือจิตยิ่ง, อธิกจิตตสิกขาชื่อหลักการศึกษาทางพุทธศาสนา หลักที่ ๒ใน ๓ หลัก.
  10. ขตฺตธมฺม : ป. ธรรมนูญการปกครอง, หลักการปกครอง, รัฐศาสตร์
  11. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  12. จริต : (นปุ.) การเที่ยวไป (ของจิต) ความประ พฤติ, เรื่องราว, นิสัย, พื้น, พื้นเพ, พื้นเพ ของจิต, จริต, (พื้นเพของจิต ของแต่ละบุค คล ซึ่งจะหนักไปในทางใดทางหนึ่งในหก ทาง ดูจริต ๖ ในหลักธรรมะ) จรฺ จรเณ, โต, อิอาคโม.
  13. จิรกฺริย : (วิ.) ผู้ประพฤติช้า, ผู้เฉื่อยชา, ผู้ผลัด วันประกันพรุ่ง. วิ. จิเรน กฺริยานฺฏฺฐานํ อสฺสาติ จิรกฺริโย.
  14. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  15. ฉายาภมฺภ : (ปุ.) หลักวัดเงาแดด, นาฬิกาแดด.
  16. ฐาน : นป. ฐานะ, การตั้งอยู่, การดำรงอยู่, การหยุดอยู่, ที่ตั้ง, หลักแหล่ง, ตำแหน่ง, เหตุ, โอกาส
  17. ฐิติภาคิย : ค. ผู้มีส่วนแห่งความตั้งมั่น, ผู้มีหลักฐาน, ผู้มีความยั่งยืน
  18. ติกฺข : ค. ฉลาด, คม, หลักแหลม
  19. เถต : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, แข็งแรง, แน่นอน, เป็นหลักฐาน. ฐา ถา วา คตินิวุตฺติยํ, โต. แปลง อา เป็น เอ ถ้าตั้ง ฐา พึงแปลง เป็น ถา.
  20. ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
  21. ทิฏฺฐชุกมฺม : (นปุ.) การทำความเห็นให้ตรง คือการทำความเห็นให้ถูกต้องตามหลัก ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา.
  22. ทิฏฺฐิ : อิต. ทิฐิ, ความเห็น, ทฤษฎี, ความเชื่อถือ, หลักสิทธิ; ความเห็นผิด
  23. ทิฏฺฐิปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งทิฐิ, ผู้บรรลุธรรมด้วยความเห็นถูกต้อง, ผู้เข้าใจในหลักความเห็น
  24. ทีฆสุตฺต : (วิ.) ผู้ประพฤติช้า, ผู้ชักช้า, ผู้เฉื่อย ชา, ผู้ผัดวันประกันพรุ่ง. วิ. โย อาลสฺ ยาวสาทีหิ อนุติฏฺฐติ โส ทีฆสุตฺโต, ทีฆญฺจ ตํ สุตฺตญฺจ ตมิว จรตีติ ทีฆสุตฺตํ, ทีฆสุตฺตปริยนฺติกํ การิยํ กโรตีติ ทีฆสุตฺโต. ฎีกาอภิฯ.
  25. ธมฺมาธิฐาน : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งธรรม, การตั้งไว้ซึ่งสภาวะ, ธรรมาธิษฐาน คือ การยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วนๆมาตั้งหรืออธิบาย. การอธิบายธรรมล้วนๆ ไม่มีสัตว์บุคคลเข้าประกอบ เรียก ว่าธรรมาธิษฐาน. คู่กันกับปุคลาธิษฐาน. ส. ธรฺมาธิษฺฐาน.
  26. ธาตุกุสล : ค. ผู้ฉลาดหลักแหลมในเรื่องธาตุ
  27. นาคทนฺตก : (ปุ.) นาคทันตกะ ชื่อหลักติดไว้ แขวนหมวด เป็นต้น, ไม้แขวนหมวก, ที่ แขวนสิ่งของ, ที่ห้อยของ. โบราณว่า บันไดแก้ว. ส. นาคทนฺต.
  28. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  29. นิติธมฺม : (ปุ.) หลักแห่งกฎหมาย, นิติธรรม.
  30. นิธาน : (นปุ.) การฝัง, การเก็บ, การเก็บไว้, การบรรจุ การตั้งมั่น, หลักฐาน, ขุมทรัพย์. นิปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ. ส. นิธาน.
  31. นิธานวนฺตุ : (วิ.) มีหลักฐาน.
  32. นิปุณ : (วิ.) อัน...กรองแล้วโดยไม่เหลือ, อัน...ชำระแล้วโดยไม่เหลือ. นิปุพฺโพ, ปุ ปวเน, ยุ. ละเอียด, สุขุม, นุ่มนวล, ฉลาด, หลักแหลม, ชำนาญ. นิปุพฺโพ, ปุณฺ นิปุเณ, อ. นิศัพท์ลงในอรรถ เฉก. ส. นิปุณ.
  33. นิม : ป. หลัก, เสา; หลักปักสำหรับวัดหรือทำเครื่องหมายในการสร้างบ้านเรือน
  34. นิมฺมนฺถยทารุ : (ปุ.) หลักสำหรับผูกสัตว์ฆ่า บูชายัญ. วิ. นิมฺมถียเตติ นิมฺมนฺโถย. ยํ กฏฐ อคฺคินิปฺยาทนตฺถํ กฏฐนฺตเรน ฆํสียเต โส นิมฺมนฺถฺยทารุ.
  35. นิยฺยุหก : (ปุ.) หลัก, หลักติดไว้สำหรับแขวน หมอก.
  36. นิยฺยูห : (ปุ.) การไหล, การซึม, การไหลซึม, ความไหล. ฯลฯ, ยาง, ยางไม้, เหงือก, ดอกไม้กรองบนศรีษะ, มงกุฎ, ประตู, หลักติดไว้สำหรับแขวนหมวก. โบราณว่า บันไดแก้ว เขมรว่า ไดแก้ว หมายเอาที่ แขวนหมวก. นิปุพฺโพ, อูหฺ วิตกฺเก ปีฑเน วา. อ. ยฺอาคโม, ทฺวิตฺตญจ. ส. นิรฺยูห, นิรฺยฺยูห.
  37. ปฏฺฐปิต : กิต. (อันเขา) เริ่มตั้งไว้แล้ว, วางเป็นหลักแล้ว
  38. ปฏฺฐเปติ : ก. เริ่มตั้ง, แต่งตั้ง, วางเป็นหลัก, เริ่มต้น
  39. ปฏิคาธ : ป. ที่พึ่ง, ที่ยึดเหนี่ยว, หลักยึด
  40. ปฏิจฺจวินีต : ค. ผู้ได้รับฝึกหัดแนะนำในธรรมที่อาศัยกัน (หลักเหตุผล)
  41. ปฏิภู : ป. ผู้ค้ำประกัน, เครื่องประกัน
  42. ปทปูรณ : (ปุ.) บทอันยังเนื้อความให้เต็ม, บทบูรณ์ คือคำที่ทำให้คำประพันธ์ครบคำ ตามหลักหรือกฎเกณฑ์ของคำประพันธ์.
  43. ปมาณ : (วิ.) พอเหมาะ, เป็นประมาณ, เป็น หลักฐาน, เป็นที่เชื่อถือได้. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
  44. ปาฏิโภค : ป. ผู้ประกัน, ผู้รับรอง, การประกัน, การรับรอง
  45. ปาฏิโมกฺข : ป., นป. พระปาฏิโมกข์, ธรรมเป็นที่อาศัยให้พ้นจากอาบัติ; พระคัมภีร์รวบรวมพระวินัยที่เป็นหลักของภิกษุไว้และต้องสวดในที่ชุมนุมสงฆ์ทุกกึ่งเดือนเพื่อทบทวนข้อปฏิบัติและสำรวจตนเองว่าได้ปฏิบัติตนเองตามพุทธบัญญัติหรือไม่
  46. ปุลสก : (ปุ.) ก้อนเส้า (ก้อนดินหรือก้อนอิฐก้อนหินที่เอามาตั้งเป็นหลักต่างเตาตั้งเป็นสามเส้าสำหรับต้มแกง). ปุลุสุ อุปทาเห, อ, สตฺเถ โก.
  47. พฺรหฺมชาติ : (อิต.) พรหมชาติ ชื่อตำราหมอดูอย่างหนึ่ง มีกฏเกณฑ์การทำนายโดยเลข ๗ ตัว เป็นหลักใหญ่ ยังไม่ถึงขั้นโหราศาสตร์.
  48. ยฏฺฐิ : อิต. ไม้เท้า, ไม่ถือ, หลักเสา; มาตราวัดเท่ากับ ๗ รัตนะ
  49. สงฺกุ : ป. หลัก, ไม้เสียบ, ตะปู, หอก, ขวาก
  50. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  51. [1-50] | 51-66

(0.0690 sec)