Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อก .

Eng-Thai Lexitron Dict : อก, more than 7 found, display 1-7
  1. pigeon breast : (N) ; อกแฟบ
  2. bosom : (N) ; หน้าอก ; Related:อก, อกเสิ้อ, ถัน ; Syn:breast, chest
  3. chest : (N) ; หน้าอก ; Related:อก, ทรวงอก, รอบอก ; Syn:breast
  4. expose : (VT) ; เปิดเผยออกมา ; Related:โผล่ออกมา, ปรากฏออกมา, เผยออกมา ; Syn:disclose, show up, uncover
  5. monoxide : (N) ; โมโนอ็อกไซด์ ; Related:อกไซด์ที่มีอ็อกซิเจนหนึ่งอะตอม
  6. Oxford : (N) ; เมืองอ็อกฟอร์ด (อยู่ตอนใต้ของประเทศอังกฤษ) ; Related:อ็อกฟอร์ด
  7. oxygen tent : (N) ; กระโจมสำหรับให้อ็อกซิเจนกับคนไข้ ; Related:เต็นท์อ็อกซิเจน
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : อก, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : อก, more than 7 found, display 1-7
  1. อก : (N) ; soul ; Related:spirit ; Syn:ใจ, จิตใจ ; Samp:ความทุกข์สุมอยู่ในอกของเธอ
  2. อก : (N) ; breast ; Related:bosom, bust ; Syn:หน้าอก, ทรวงอก ; Def:ส่วนของร่างกายด้านหน้าอยู่ระหว่างคอและท้อง ; Samp:การตกจากที่สูงและหกล้มรุนแรงอาจทำอันตรายต่อแนวอกของกระดูก
  3. อก : (N) ; Ministry of Industry ; Syn:กระทรวงอุตสาหกรรม
  4. อุรา 1 : (N) ; chest ; Syn:อก
  5. อกสั่นขวัญแขวน : (V) ; tremble with fright ; Related:frighten, scare ; Def:ตกใจกลัวเป็นอย่างยิ่ง ; Samp:เจ้าพ่อตะโกนใส่ด้วยน้ำเสียงที่ดุดันทำให้หลายคนถึงกับอกสั่นขวัญแขวน
  6. อกสามศอก : (ADJ) ; broad-chested ; Related:able-bodied, full-grown, masculine, virile ; Def:ลักษณะผู้ชายที่มีร่างใหญ่โต แข็งแรง ; Samp:เขาเป็นผู้ชายอกสามศอก แต่หาเลี้ยงตัวเองไม่ได้
  7. Thai-Eng Lexitron Dict : อก, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : อก, more than 5 found, display 1-5
  1. อก : น. ส่วนของร่างกายด้านหน้าอยู่ระหว่างคอกับท้อง; ใจ เช่น อกกรม อกเขาอกเรา; เรียกไม้ที่เป็นแกนกลางของตัวว่าวว่า อกว่าว; เรียก เลื่อยที่มีไม้ยันกลางว่า เลื่อยอก, เรียกไม้อันกลางที่ยันเลื่อยให้ตึงว่า อกเลื่อย.
  2. อก : ว. หก, (โบ) เรียกลูกหญิงคนที่ ๖ ว่า ลูกอก, คู่กับ ลูกชายคนที่ ๖ ว่า ลูกลก.
  3. อก : น. พวก, หมู่. (อนันตวิภาค).
  4. อกกรม : ว. มีความระทมใจ มักใช้เข้าคู่กับคำ หน้าชื่น เป็น หน้าชื่น อกกรม, หน้าชื่นอกตรม ก็ว่า.
  5. อกจะแตก : อ. คำพูดที่เปล่งออกมาเมื่อตกใจเป็นต้น (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น อุ๊ย ! อกจะแตก, อกแตก ก็ว่า.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : อก, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : อก, more than 5 found, display 1-5
  1. อกรณียะ : กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ ๔ อย่าง ทำแล้วขาดจากความเป็นภิกษุ คือ ๑) เสพเมถุน ๒) ลักของเขาตั้งแต่ ๕ มาสกขึ้นไป ๓) ฆ่ามนุษย์ ๔) อวดคุณพิเศษ (อุตริมนุสธรรม) ที่ไม่มีในตน (สำหรับภิกษุณี มี ๘) ดู อนุศาสน์
  2. อุทธังโสโตอกนิฏฐคามี : พระอนาคามีผู้จะปรินิพพาน ต่อเมื่อเลื่อนขึ้นไปเกิดในชั้นสูงขึ้นไปจนถึงชั้นอกนิฏฐะ (ข้อ ๕ ในอนาคามี ๕)
  3. คติ : 1.การไป, ทางไป, ความเป็นไป, ทางดำเนิน, วิธี, แนวทาง, แบบอย่าง 2.ที่ไปเกิดของสัตว์, ภพที่สัตว์ไปเกิด, แบบการดำเนินชีวิต มี ๕ คือ ๑.นิรยะ นรก ๒.ติรัจฉานโยนิ กำเนิดดิรัจฉาน ๓.เปตติวิสัย แดนเปรต ๔.มนุษย์ สัตว์มีใจสูงรู้คิดเหตุผล ๕.เทพ ชาวสวรรค์ตั้งแต่ชั้นจาตุมหาราชิกา ถึงอกนิฏฐพรหม (ท่านว่าในที่นี้ จัดอสูรเข้าในเปตตวิสัยด้วย) ๓ คติแรกเป็น ทุคติ (ที่ไปเกิดอันชั่วหรือแบบดำเนินชีวิตที่ไม่ดี) ๒ คติหลังเป็นสุคติ (ที่ไปเกิดอันดี หรือแบบดำเนินชีวิตที่ดี)
  4. ทวดึงสกรรมกรณ์ : วิธีลงโทษ ๓๒ อย่าง ซึ่งใช้ในสมัยโบราณ เช่น โบยด้วยแส้ โบยด้วยหวาย ตีด้วยกระบอง ตัดมือ ตัดเท้า ตัดหู ตัดจมูก ตัดศีรษะ เอาขวานผ่าอก เป็นต้น
  5. ธรรมกาย : “ผู้มีธรรมเป็นกาย” เป็นพระนามอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า (ตามความในอัคคัญญสูตร แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค) หมายความว่า พระองค์ทรงคิดพุทธพจน์คำสอนด้วยพระหทัยแล้วทรงนำออกเผยแพร่ด้วยพระวาจา เป็นเหตุให้พระองค์ก็คือพระธรรม เพราะทรงเป็นแหล่งที่ประมวลหรือที่ประชุมอยู่แห่งธรรมอันปรากฏเปิดเผยออกมาแก่ชาวโลก; อนึ่งธรรมกายคือกองธรรมหรือชุมนุมแห่งธรรมนั้น ย่อมเจริญงอกงามเติบขยายขึ้นได้โดยลำดับจนไพบูลย์ ในบุคคลผู้เมื่อได้สดับคำสอนของพระองค์ แล้วฝึกอบรมตนด้วยไตรสิกขาเจริญมรรคให้บรรลุภูมิแห่งอริยชน ดังตัวอย่างดำรัสของพระมหาปชาบดีโคตมี เมื่อครั้งกราบทูลลาพระพุทธเจ้าเพื่อปรินิพพานตามความในคัมภีร์อปทานตอนหนึ่งว่า “ข้าแต่พระสุคตเจ้า หม่อมฉันเป็นมารดาของพระองค์, ข้าแต่พระธีรเจ้า พระองค์ก็เป็นพระบิดาของหม่อมฉัน..รูปกายของพระองค์นี้ หม่อมฉันได้ทำให้เจริญเติบโต ส่วนธรรมกายอันเป็นที่เอิบสุขของหม่อมฉัน ก็เป็นสิ่งอันพระองค์ได้ทำให้เจริญเติบโต”; สรุปตามนัยอรรถกถาธรรมกายก็คือโลกุตตรธรรม ๙ หรือ อริยสัจ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : อก, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : อก, more than 5 found, display 1-5
  1. อก : (อัพ. นิบาต) ไม่, ไม่ควร, อย่า.ปฏิเสธ นตฺถนิปาต.ส.ใช้เป็นอุปสรรคและอุทานแสดงความสงสาร.
  2. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  3. อกโขภ : ค. ซึ่งไม่กระเพื่อม, ไม่หวั่นไหว
  4. อกติ : ก. คด, งอ, บิดไปบิดมา
  5. อกนิฏฺฐ : (วิ.) ไม่น้อย, สูงสุด, สูงที่สุด, ใหญ่ที่สุด.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : อก, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อก, more than 5 found, display 1-5
  1. อก : อุโร, หทยํ
  2. กกไว้ที่อก : อุเร นิปชฺชาเปตฺวา
  3. กดไว้ที่อก : อุเร นิปชฺชาเปตฺวา
  4. เกรงอกเกรงใจ : สปติสฺสา
  5. เกราะ, เครื่องปิดอก : อุรจฺฉโท [ป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อก, more results...

(0.0814 sec)