Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อบรม , then อบรม, อปรม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อบรม, 24 found, display 1-24
  1. ปภาเวติ : ก. ให้เจริญ, อบรม, พอกพูน, ส่งเสริม
  2. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  3. กายภาวน : (นปุ.) การอบรมด้วยกาย, การอบรมทางกาย.
  4. กายภาวนา : อิต. การอบรมกาย, การฝึกหัดกาย
  5. จิตฺตภาวนา : (อิต.) การยังจิตให้เจริญ, การอบรมจิต.
  6. ทนฺตตา : อิต. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  7. ทนฺตภาว : ป. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  8. ทนฺตภูมิ : อิต. ภูมิแห่งบุคคลผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ระดับจิตของท่านผู้ฝึกฝนอบรมตนแล้ว, พระนิพพาน
  9. ปภาวิต : กิต. (อันเขา) อบรม, ให้เจริญ, เพิ่มพูน, ส่งเสริมแล้ว
  10. ปริจย : (ปุ.) การอบรม, การท่อง, การท่อง บ่น, ความชม, ความรู้จักกัน, ความสั่งสม, ความชิน, ความเคยชิน, ความคุ้นเคย, ความอบรม. ปริปุพฺโพ, จิ จเย, อ.
  11. ปริภาวิต : กิต. อบรมแล้ว, เจริญแล้ว, ฝึกแล้ว, ซึมซาบแล้ว
  12. ภาวนา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องยังกุศลให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ, ภาวนา (สำรวมใจตั้งความปรารถนา การทำให้มีขึ้น ให้เป็นขึ้น ให้เจริญขึ้น การอบรมให้เจริญขึ้น). ภู สตฺตายํ, ยุ.
  13. ภาวิต : กิต. เจริญแล้ว, อบรมแล้ว
  14. ภาวิตตฺต : (วิ.) ผู้มีตนอันให้เจริญแล้ว, ผู้มีตนอัน อบรมแล้ว. ภาวิต+อตฺต.
  15. วาสนา : อิต.วาสนา, บุญหรือบาปที่ได้อบรมมา
  16. อภาวิต : ค. ซึ่งไม่เจริญแล้ว, อันไม่อบรมแล้ว
  17. อมนสิการพหุลีการ : ป. การไม่อบรมให้มีมากในใจ
  18. อลวจนียา : อิต. หญิงที่ควรแก่การว่ากล่าวอบรมได้
  19. อาชานีย : ป. ๑. ม้าอาชาไนย, ม้ามีไหวพริบดี, ม้าพันธุ์ดี, บุรุษผู้ประเสริฐ ; ๒. ได้รับอบรมมาดี, มีกำเนิดดี, รู้ได้เร็ว
  20. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  21. อาวาส : (วิ.) เป็นที่อยู่, เป็นที่อาศัย, เป็นที่ อยู่อาศัย, เป็นที่อบรม, ครอบครอง, อยู่ ครอบครอง.
  22. อุปชฺฌาย : (ปุ.) อุปัชฌาย์, พระอุปัชฌาย์. วิ. มนสา อุเปจฺจ สิสฺสานํ หิเตสิตํ อุปฏฺฐ- เปตฺวา ฌายตีติ อุปชฺฌาโย (ผู้เพ่งด้วยใจ เข้าไปใกล้ชิด แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล แก่ศิษย์ ท.) พระเถระผู้ให้การอบรม, พระเถระผู้เป็นประธาน ในการอุปสมบท. อุปปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. ส. อุปธฺยาย.
  23. อุปรม : (วิ.) งด, เว้น, ยินดี.
  24. อุปริม : (วิ.) มีในเบื้องบน, เกิดในเบื้องบน. วิ. อุปริ ภโว ชาโต วา อุปริโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  25. [1-24]

(0.0127 sec)