Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อบรม , then อบรม, อปรม .

Eng-Thai Lexitron Dict : อบรม, more than 7 found, display 1-7
  1. discipline : (VT) ; อบรม ; Related:ฝึกฝน ; Syn:train, coach, tutor
  2. lecture for : (PHRV) ; อบรมสั่งสอน ; Related:ตำหนิ (อย่างยาวนาน)
  3. train : (VT) ; ให้ความรู้ ; Related:อบรม, สั่งสอน
  4. nurture : (N) ; การให้การอบรม ; Related:การให้การเลี้ยงดู, การอบรมบ่มนิสัย, การเลี้ยงดู ; Syn:nutriment, sustenance
  5. uncultivated : (ADJ) ; ที่ไม่ได้รับการอบรม ; Related:ที่ขาดการอบรม ; Syn:wild, unrefined, nonintellectual ; Ant:cultivated, refined
  6. preach : (VI) ; เทศนา ; Related:แสดงธรรม, สั่งสอน, สอน, อบรม ; Syn:moralize, teach
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : อบรม, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : อบรม, more than 7 found, display 1-7
  1. อบรม : (V) ; teach ; Related:instruct, coach, educate, guide ; Syn:อบรมบ่มนิสัย, บ่มนิสัย ; Def:แนะนำพร่ำสอนให้ซึมซาบเข้าจนติดเป็นนิสัย, ขัดเกลานิสัย ; Samp:ในครอบครัวพ่อแม่ทำหน้าที่อบรมเด็กทุกด้าน
  2. อบรม : (V) ; train ; Related:drill, tutor, coach ; Def:แนะนำชี้แจงให้เข้าใจในเรื่องที่ต้องการ ; Samp:บริษัทต้องอบรมโปรแกรมเมอร์ของตนให้มีความคุ้นเคยกับการใช้เครื่องมือ
  3. อบรมบ่มนิสัย : (V) ; teach ; Related:instruct, coach, educate, guide ; Syn:อบรม, บ่มนิสัย ; Def:แนะนำพร่ำสอนให้ซึมซาบเข้าจนติดเป็นนิสัย, ขัดเกลานิสัย ; Samp:หนังสือที่ท่านแปลและเรียบเรียงสามารถอบรมบ่มนิสัยของเยาวชนได้
  4. อบรมสั่งสอน : (V) ; instruct ; Related:teach, educate, direct, give guidance ; Syn:อบรม, สั่งสอน, อบรมบ่มนิสัย, ขัดเกลา ; Def:พร่ำสอนให้ซึมซาบเข้าไปจนติดเป็นนิสัย, แนะนำชี้แจงให้เข้าใจในเรื่องที่ต้องการ ; Samp:ท่านพระครูอบรมสั่งสอนผมมาตั้งแต่ผมยังเล็กๆ
  5. อบรมเลี้ยงดู : (V) ; nurture ; Related:care, educate, support ; Syn:เลี้ยงดู ; Def:เลี้ยงดูและแนะนำพร่ำสอนสิ่งต่างๆ ; Samp:ถึงแม้จะมีฐานะยากจนแต่ป้าก็อบรมเลี้ยงดูฉันมาอย่างดี
  6. การอบรม : (N) ; teaching ; Related:instructing, tutoring ; Syn:การอบรมสั่งสอน, การอบรมเลี้ยงดู ; Def:การแนะนำพร่ำสอนให้ซึมซาบเข้าไปจนติดเป็นนิสัย ; Samp:ในสมัยก่อนเจ้าอาวาสและพระภิกษุสงฆ์มีบทบาทสำคัญในการอบรมเด็กให้เป็นคนดีในสังคม
  7. การอบรม : (N) ; training ; Related:drill ; Syn:การฝึกอบรม, การฝึกฝน ; Samp:ผู้ที่ผ่านการอบรมวิชาชีพสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพได้
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : อบรม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : อบรม, more than 5 found, display 1-5
  1. อบรม : ก. แนะนําพรํ่าสอนให้ซึมซาบเข้าไปจนติดเป็นนิสัย, แนะนํา ชี้แจงให้เข้าใจในเรื่องที่ต้องการ, ขัดเกลานิสัย, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับ บ่มนิสัย เป็น อบรมบ่มนิสัย.
  2. วิเนต : ก. นํา, ชี้, ฝึกหัด, สั่งสอน, อบรม. (ป.).
  3. กล่อมเกลา : [-เกฺลา] ก. ทําให้เรียบร้อย, ทําให้ดี, โดยปริยายหมายความว่า อบรมให้มีนิสัยไปในทางดี.
  4. กล่อมเกลี้ยง : ก. อบรมเลี้ยงดูให้มีนิสัยดี.
  5. แก่วัด : ว. อยู่วัดนาน, มีท่าทีหรือความคิดเห็นแบบคนที่ได้รับ การอบรมจากวัดหรืออยู่วัดนาน; รู้มาก.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : อบรม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : อบรม, more than 5 found, display 1-5
  1. กัมมัฏฐาน : ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งการงานของใจ, อุบายทางใจ, วิธีฝึกอบรมจิต มี ๒ ประเภท คือ สมถกัมมัฏฐาน อุบายสงบใจ ๑ วิปัสสนากัมมัฏฐาน อุบายเรืองปัญญา ๑ (นิยมเขียน กรรมฐาน) ดู ภาวนา -subjects of meditation, meditation exercises, the act of meditation or contemplation, ground for mental culture.
  2. จิตตวิสุทธิ : ความหมดจดแห่งจิต คือได้ฝึกอบรมจิตจนเกิดสมาธิพอเป็นบาทฐานแห่งวิปัสสนา (ข้อ ๒ ในวิสุทธิ ๗)
  3. เจริญวิปัสสนา : ปฏิบัติวิปัสสนา, บำเพ็ญวิปัสสนา, ฝึกอบรมปัญญาโดยพิจารณาสังขาร คือ รูปธรรมและนามธรรมทั้งหมดแยกออกเป็นขันธ์ๆ กำหนดด้วยไตรลักษณ์ว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา
  4. ธรรมกาย : “ผู้มีธรรมเป็นกาย” เป็นพระนามอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า (ตามความในอัคคัญญสูตร แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค) หมายความว่า พระองค์ทรงคิดพุทธพจน์คำสอนด้วยพระหทัยแล้วทรงนำออกเผยแพร่ด้วยพระวาจา เป็นเหตุให้พระองค์ก็คือพระธรรม เพราะทรงเป็นแหล่งที่ประมวลหรือที่ประชุมอยู่แห่งธรรมอันปรากฏเปิดเผยออกมาแก่ชาวโลก; อนึ่งธรรมกายคือกองธรรมหรือชุมนุมแห่งธรรมนั้น ย่อมเจริญงอกงามเติบขยายขึ้นได้โดยลำดับจนไพบูลย์ ในบุคคลผู้เมื่อได้สดับคำสอนของพระองค์ แล้วฝึกอบรมตนด้วยไตรสิกขาเจริญมรรคให้บรรลุภูมิแห่งอริยชน ดังตัวอย่างดำรัสของพระมหาปชาบดีโคตมี เมื่อครั้งกราบทูลลาพระพุทธเจ้าเพื่อปรินิพพานตามความในคัมภีร์อปทานตอนหนึ่งว่า “ข้าแต่พระสุคตเจ้า หม่อมฉันเป็นมารดาของพระองค์, ข้าแต่พระธีรเจ้า พระองค์ก็เป็นพระบิดาของหม่อมฉัน..รูปกายของพระองค์นี้ หม่อมฉันได้ทำให้เจริญเติบโต ส่วนธรรมกายอันเป็นที่เอิบสุขของหม่อมฉัน ก็เป็นสิ่งอันพระองค์ได้ทำให้เจริญเติบโต”; สรุปตามนัยอรรถกถาธรรมกายก็คือโลกุตตรธรรม ๙ หรือ อริยสัจ
  5. ธรรมไพบูลย์ : ความไพบูลย์แห่งธรรม, ความพรั่งพร้อมเต็มเปี่ยมแห่งธรรม ด้วยการฝึกฝนอบรมให้มีในตนจนบริบูรณ์ หรือด้วยการประพฤติปฏิบัติกันในสังคมจนแพร่หลายทั่วไปทั้งหลาย ดู ไพบูลย์ เวปุลละ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : อบรม, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : อบรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ปภาเวติ : ก. ให้เจริญ, อบรม, พอกพูน, ส่งเสริม
  2. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  3. กายภาวน : (นปุ.) การอบรมด้วยกาย, การอบรมทางกาย.
  4. กายภาวนา : อิต. การอบรมกาย, การฝึกหัดกาย
  5. จิตฺตภาวนา : (อิต.) การยังจิตให้เจริญ, การอบรมจิต.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : อบรม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อบรม, not found

(0.1361 sec)