Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างไรก็ตาม, อย่างไร, ก็ตาม , then ก็ตาม, อยางร, อยางรกตาม, อย่างไร, อย่างไรก็ตาม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างไรก็ตาม, 50 found, display 1-50
  1. ยาทิส, - สก : ค. อย่างไรก็ดี, เหมือนอย่างไรก็ดี, อย่างไรก็ตาม
  2. กิญฺจ : อ. ไฉนไม่, อย่างไร, ทำไม
  3. กินฺติ : อ. โดยวิธีใด, อย่างไร, ว่าอย่างไร
  4. กึสุ : อ. แลหรือ, อย่างไร, อย่างไรเล่า
  5. นนุ : (อัพ. นิบาต) อะไร, อย่างไร, อย่างไรสิ, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ. ส. นนุ.
  6. ยถา : (อัพ. นิบาต) ฉันใด, ประการใด, โดยประการใด, อย่างไร, เป็นอย่างไร, ด้วยประการใด, ควร, สมควร, ตาม, เดิม.
  7. กจฺจิ นุ : (อัพ. นิบาต) บ้าง, อย่างไร, อย่างไร สิ, ใช่หรือ, หรือหนอ, อะไร.
  8. กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
  9. สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
  10. กจฺจินุ : อ. อย่างไร? แลหรือ?
  11. กถกร : ค. อันกระทำอย่างไร
  12. กถปการ : ค., กถํวิธ ค. มีชนิดไร, เป็นอย่างไร
  13. กถภูต : ค. มีชนิดใด, เป็นอย่างไร, บังเกิดแล้วอย่างไร
  14. กถสีล : ค. มีศีลอย่างไร
  15. กถ สุ : (อัพ. นิบาต) อย่างไรสิ.
  16. กานาม : ค. (หญิง) มีชื่อว่าอย่างไร?
  17. กาม : (อัพ. นิบาต) ก็ตาม, ก็ตามที, ส่วนเดียว, โดยส่วนเดียว, แท้, โดยแท้, ผิว่า, แม้, บ้าง.
  18. กินฺนาม : ชื่อไร, มีชื่อว่าอย่างไร
  19. กิมกฺขายี : ค. ผู้มีปกติกล่าวว่าอย่างไร
  20. กีทิส : ค. เช่นไร? อย่างไร? เหมือนอะไร?
  21. กึชจฺจ : ค. ผู้มีชาติอย่างไร, เป็นวรรณะอะไร, เกิดมาจากไหน
  22. กึนาม : ค. ชื่ออะไร, มีชื่อว่าอย่างไร
  23. กึ นุ โข : (อัพ. นิบาต) เพราะเหตุอะไรหนอ แล, อะไรหนอแล, อย่างไรหนอแล. กึ แปลเป็นเหตุก็ได้ ฉัฏฐี  ก็ได้ ทุติยาก็ได้.
  24. กึวาที : ค. ผู้ชอบกล่าวถึงอะไร, ผู้มีความเห็นว่าอย่างไร
  25. กึสีล : ค. ผู้มีอะไรเป็นปกติ, ผู้มีอุปนิสัยอย่างไร
  26. กึ สุ : (อัพ. นิบาต) อะไรสิ, อย่างไรสิ, มิใช่ หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร.
  27. กึอกฺขายี : ค. มีปกติกล่าวว่าอย่างไร, หรืออะไร, ผู้มักถาม
  28. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  29. ตถาการี : (วิ.) (คนตรง คิด พูดอย่างไร) ทำ อย่างนั้น.
  30. ทุพภาสิตาปตฺติ : (อิต.) อาบัติทุพภาษสิต. ต้องอาบัตินี้ เพราะพูดล้อเล่น เย้าเล่น กับ อุปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน กระทบวัตถุมีชาติเป็นต้น พูดเจาะตัวหรือเปรยก็ตาม.
  31. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  32. ปิ : อ. แม้ว่า, ผิว่า, แต่, ถึงกระนั้น, บางที, อย่างไรดี, สมควร, ด้วย, เหมือนกัน
  33. ยถากมฺม : (นปุ.) กรรมอย่างไร, ตามกรรม.
  34. ยถาการี : ค. ผู้มีปกติกระทำอย่างไร, อย่างที่เขาทำ
  35. ยถาตถ : (นปุ.) อย่างไรอย่างนั้น, ตามจริง.
  36. ยถาตถ : (อัพ. นิบาต) อย่างใดอย่างนั้น, อย่างไรอย่างนั้น, ตามจริง, จริง, แท้.
  37. ยถาผาสุก : (วิ.) มีความสำราญอย่างไร.
  38. ยถาภูต : (วิ.) เป็นแล้วอย่างไร.
  39. ยถารูป : (วิ.) มีรูปอย่างไร, ตามแบบอย่างนั้น, เช่นนั้น.
  40. ยถาวาที : (วิ.) พูดอย่างไร, มีปกติพูดอย่างไร.
  41. ยถาสภาว : (ปุ.) ความจริงอย่างไร, ความเป็นจริงอย่างไร.
  42. ยถิจฺฉิต : (วิ.) อันตนปรารถนาแล้วอย่างไร.
  43. ยทิจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาอย่างไร, ความประสงค์อย่างไร, ความประพฤติตามอำเภอใจ. วิ. ยา ยา อิจฺฉา อธิปฺปาโย ยทิจฺฉา.
  44. เสยฺยถีห : (อัพ. นิบาต) แล เป็น ปทปูรณะบ้าง ลงอรรถว่า อ. สิ่งนี้ (อิทํ วตฺถุ) คืออะไร (เสยฺยถา) บ้าง, อย่างไรนี้ บ้าง.
  45. อตฺถุ : (อัพ. นิบาต) จงยกไว้, ก็ตามแต่ ก็ตามที(ตอบอย่างไมม่พอใจ), โดยแท้.
  46. อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
  47. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  48. อปฺเปวอปฺเปวนาม : (อัพ. นิบาต) ไฉนหนอ, อย่างไรเสีย, ถ้ากระไร, ชื่อไฉนหนอ, ชื่อแม้ไฉน.อปิ+เอวแปลงอิเป็นยแปลงยเป็นป.
  49. อปฺเปว อปฺเปว นาม : (อัพ. นิบาต) ไฉนหนอ, อย่างไรเสีย, ถ้ากระไร, ชื่อไฉนหนอ, ชื่อ แม้ไฉน. อปิ+เอว แปลง อิ เป็น ย แปลง ย เป็น ป.
  50. อเห : อ. เอะ! นี่แน่ะ! อย่างไรกันนี่!
  51. [1-50]

(0.0716 sec)