Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าใกล้, ใกล้, เข้า , then กล, ใกล้, ขา, เข้, เข้า, เข้าใกล้ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าใกล้, 588 found, display 1-50
  1. อุปยาติ : ก. ไปถึง, ไปใกล้, เข้าใกล้
  2. อุปสงฺกมน : (นปุ.) การเข้าไปใกล้, การเข้า ใกล้. อุป สํ ปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, ยุ.
  3. อุปก : ค. เข้าไปใกล้, จวน, ใกล้เข้า
  4. อุปกฺขฏ : กิต. นำเข้ามาใกล้, จัดแจง, แต่ง
  5. อุปกฏฐ : ค. ใกล้เข้ามา, คร่ามาใกล้
  6. อุปค : (ปุ.) การเข้าถึง, การเข้าไป, การเข้าไปใกล้, ความเข้าถึง, ฯลฯ. อุป+คมฺ+กฺวิ, ยุ ปัจ.
  7. อุปคมน : (นปุ.) การเข้าถึง, การเข้าไป, การเข้าไปใกล้, ความเข้าถึง, ฯลฯ. อุป+คมฺ+กฺวิ, ยุ ปัจ.
  8. อุปคมนก : ค. ผู้เข้าถึง, ผู้เข้าไปใกล้
  9. อุปคมฺม : กิต. เข้าถึงแล้ว, เข้าไปใกล้แล้ว
  10. อุปนมน : นป. การน้อมเข้ามาใกล้
  11. อุปนยน : นป. การน้อมเข้ามาใกล้
  12. อุปนานิย : ค. ผู้เข้าใกล้, ผู้นำเข้าไป
  13. อุปาสีน : ค. ผู้นั่งใกล้, ผู้เข้าใกล้
  14. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  15. ขลีน : (ปุ. นปุ.) บังเหียนม้า คือเครื่องบังคับม้าให้ไปตามที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ที่ปลายมีห่วงสองข้างสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, เหล็กผ่าปากม้า. ขลุ (อัพ. นิบาต) ก็, ริม, ใกล้, แท้จริง, ได้ ยินว่า, เขาลือว่า, ห้าม, แล. ลงในอรรถ อนุสสวะ ปฏิเสธ ปรากฏ และ ปทปูรณะ.
  16. มูล : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่พึ่ง, เป็นที่อาศัย, เป็นต้น, เป็นเดิม, ใกล้, เป็นทุน, เป็นมูล, เป็นเหตุ, ใหญ่, มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อ.
  17. อภิโต : (อัพ. นิบาต) ริม, ใกล้, เฉพาะหน้า, ทั้งสองข้าง, นิบาตลงในอรรถสัตตมี.อภิฯและรูปฯ.
  18. อภิโท : อ. ตรง, ใกล้, จวน
  19. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  20. อุปจาร : (วิ.) จวน, ใกล้, ใกล้เคียง, เฉียด, ซัดทอด, ใส่ความ.
  21. กล : (ปุ.) เสียงไม่ชัด (แต่เป็นที่ชอบใจ), เสียงอ่อน, เสียงวังเวง, เสียงดังวังเวง (ดนตรี). กลฺ สทฺเท กลิเล วา, อ. อภิฯ เป็น ไตรลิงค์. ส. กล.
  22. กณ : (วิ.) น้อย, ละเอียด, สุขุม, ใกล้. กณฺ สทฺเท, อ. ส. กณ.
  23. กณฺฐ : (วิ.) ใกล้. กณฺฐํ สมีปํ.
  24. ญตฺต : (วิ.) ใกล้ วิ. ญายเตติ ญตฺตํ. ญา อวโพธเน, โต, รัสสะ แปลง ต เป็น ตฺต.
  25. ธุร : (วิ.) หนัก, ใกล้.
  26. อาสนฺน : (วิ.) ใกล้
  27. อุปนฺติก : (วิ.) ใกล้ วิ. อนฺติกภาว มุปคตํ อุปนฺติกํ. อุป+อนฺต+อิก ปัจ.
  28. อวิทูร : (วิ.) ไม่ไกล, ใกล้.ทูรปฏิปกฺขตฺตาอวิทูรํ.
  29. กลิกา : (อิต.) อันใกล้จะบาน, อันจะบาน. กลฺ สํขฺยาเณ, อิโก.
  30. มสารก : (ปุ.) เตียงมีแม่แคร่สอดเข้าในขา. วิ. ยสฺส ปาทจฺฉิทฺเท อฏนิ ปเวเสตฺวา ติฏฺฐติ โส มสารโก. มสฺ อามสเน อร ปัจ. ก สกัด.
  31. กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  32. กติกาสณฺฐาน : นป. การเข้าถึง, การนัดหมายกัน, การตกลงกัน
  33. กปฺปหลาหล : นป. ความโกลาหลในกาลใกล้จะสิ้นกัลป์
  34. กปฺปิยานุโลม : นป. ความที่เข้ากันได้กับกฎ, การอนุโลมตามกฎ
  35. กปิฏฐ : ป., นป. มะขวิด; กระพุ่มมือ, การประสานนิ้วมือเข้ากัน
  36. กมฺมปตฺต : ค. ผู้ถึงกรรม, (ภิกษุ) ผู้เข้ามาท่ามกลางสงฆ์ เพื่อทำสังฆกรรม
  37. กวล กวฬ กพล : (ปุ.) คำ คือของที่รวมเข้า หรือตะล่อมเข้า พอใส่ปากได้ครั้งหนึ่ง ๆ, คำข้าว. ส. กวก, กวล.
  38. กามูปปตฺติ : อิต. กามอุบัติ, การเข้าถึงกาม, การเกิดขึ้นแห่งกาม
  39. กึ : (นปุ.) อะไร, ประโยชน์อะไร. เวลาแป คุดคำว่าประโยชน์เข้ามา เช่น กึ อ. ประโยชน์อะไร หรือโยค ปโยชนํ เป็น กึ ปโยชน์ อ. ประโยชน์อะไร. เอสา เต อิตฺถี กึ โหติ. สตรีนี้เป็นอะไรของท่าน?. เอเต มนุสฺสา ตุมฺหากํ กึ โหนฺติ. คนเหล่านี้ เป็นอะไรของท่าน. กึ ศัพท์ในที่นี้เป็น วิกติกกัตตา.
  40. กุฏุกุญฺจก : ค. ใกล้ชิด, กระชับ, แน่น
  41. กุณ : (วิ.) หดเข้า, สั้นเข้า, งอ, หงิก, ง่อย.
  42. กุณลี : ค. หดเข้ามา, งอเข้ามา
  43. กุมารีปญฺห : ป. การอัญเชิญเทวดาให้เข้าทรงหญิงสาวแล้วถามปัญหา, การให้หญิงสาวเข้าทรงแล้วถามปัญหา, การเป็นหมอทรงหญิงสาว
  44. กุลุปก กุลุปค กุลูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงตระกูล, ผู้ประจำตระกูล. วิ. กุลํ อุปคจฺฉตีติ กุลุปโค. กุล+อุป+คมฺธาตุ กฺวิ ปัจ. ที่เป็น กุลปก เพราะแปลง ค เป็น ก กัจฯ ๒๙ รูปฯ ๔๒.
  45. กุลูปก, - ปค : ค. ผู้เข้าไปอาศัยตระกูล, ผู้เข้าถึงตระกูล, คุ้นเคยกับตระกูล
  46. เกลาส : (ปุ.) เกลาสะ ไกลาส ชื่อภูเขา วิ. เก ชเล ลาโส ลสนํ ทิตฺติ อสฺสาติ เกลาโส. ลสฺ กนฺติยํ, โณ. ไทยเขียน ไกรลาส เพราะแทรก ร เข้ามา. ส. ไกลาส.
  47. เกสิก : ค. (ผลมะม่วง) มีไคล, เข้าไคล
  48. โกธสามนฺต : (วิ.) ใกล้ต่อความโกรธ, ฯลฯ.
  49. โกรก : (ปุ. นปุ.) ดอกไม้ใกล้จะบาน. กุรฺ สทฺเท, ณฺวุ.
  50. คยฺหุปค คยฺหูปค : (วิ.) อันเข้าถึงซึ่งความเป็น ของอัน...พึงถือเอา, เข้าถึงซึ่งความเป็นของ ควรถือเอา.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-588

(0.0844 sec)