Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้า , then ขา, เข้, เข้า .

Eng-Thai Lexitron Dict : เข้า, more than 7 found, display 1-7
  1. enter : (VT) ; เข้า ; Related:เข้ามา, เข้าสู่ ; Syn:come in, get in, go in
  2. enter : (VI) ; เข้า ; Related:เข้ามา, เข้าสู่ ; Syn:come in, get in, go in
  3. access : (VT) ; เข้า ; Related:เข้าไป ; Syn:get at, enter
  4. slip in : (PHRV) ; เข้า (สถานที่หรือร่วมกลุ่ม) เงียบๆ
  5. borrow : (VI) ; รับเอา ; Related:เข้า
  6. go in 1 : (PHRV) ; เข้าไป (ข้างใน) ; Related:เข้า ; Syn:bring in, come in, get in, send in, take in
  7. go into : (PHRV) ; เข้าไปใน ; Related:เข้า ; Syn:be in
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : เข้า, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เข้า, more than 7 found, display 1-7
  1. เข้า : (V) ; get along with ; Related:deal with ; Syn:เข้ากัน ; Ant:แยก, แตกแยก ; Def:ถูกกันหรือลงรอยกันได้ดี ; Samp:เด็กๆ เข้ากับเพื่อนใหม่ได้ดี
  2. เข้า : (V) ; put in ; Related:pour in ; Ant:ออก ; Def:ใส่เข้าไว้, บรรจุเข้าไว้ ; Samp:หลังจากขายสินค้าชิ้นแรกได้ แม่ค้ารีบเก็บเงินเข้ากระเป๋าอย่างรวดเร็ว
  3. เข้า : (V) ; reach ; Related:get, approach, enter ; Syn:มาถึง ; Ant:ออก ; Def:อาการเคลื่อนสู่จุดหมาย, เคลื่อนมาสู่ที่ ; Samp:รถประจำทางจะเข้ามาที่สถานีตรงเวลาทุกวัน
  4. เข้า : (V) ; enter ; Related:get into, go into ; Syn:เข้าไป ; Def:อาการที่เคลื่อนไปข้างในหรือทำให้เคลื่อนไปข้างใน ; Samp:เด็กๆ รีบเข้าไปในบ้านก่อน อย่าให้โดนฝน เดี๋ยวไม่สบาย
  5. เข้ามา : (V) ; enter ; Related:get in ; Syn:เข้า ; Ant:ออกไป, ออก ; Def:ผ่านเข้ามาภายใน, เคลื่อนที่เข้ามา ; Samp:พยาบาลเข้ามาในห้องคนไข้ตอนเช้า เพื่อตรวจดูความเรียบร้อย
  6. เข้าไป : (V) ; enter ; Related:get into ; Syn:เข้า ; Ant:ออกมา ; Def:อาการที่เคลื่อนไปข้างในหรือผ่านเข้าไปสู่ภายใน ; Samp:ผู้มาร่วมพิธีเข้าไปในโบสถ์หมดแล้ว
  7. เร็วๆ เข้า : (V) ; come on ; Syn:เร็วๆ ; Ant:ช้าๆ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เข้า, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เข้า, more than 5 found, display 1-5
  1. เข้า : ก. อาการที่เคลื่อนไปข้างในหรือทําให้เคลื่อนไปข้างใน เช่น เข้าบ้าน เข้าถํ้า เอาหนังสือเข้าตู้; เคลื่อนมาสู่ที่, มาถึง, เช่น รถด่วนเข้า ๑๐ โมง; ใส่, บรรจุ, เช่น เข้าหีบ; ประสม, แทรก, เช่น เข้ายาดำ; รวม เช่น เข้าหุ้น เข้าทุน; รวม เป็นพวก เช่น เข้าพรรค เข้าแถว เข้าข้าง; ถูกกัน, ลงรอยกัน, ทําให้ลงรอยกัน, เหมาะเจาะ, เช่น เสียงเข้ากัน สีเข้ากัน เข้าไม้; เคลื่อนมาสู่ เช่น พระศุกร์เข้า; สิง เช่น เจ้าเข้า ผีเข้า; เริ่ม เช่น เข้าเรียน, เริ่มทํางาน เช่น โรงเรียนเข้า; เริ่มอยู่ ในภาวะ เช่น เข้าโรงเรียน เข้าทํางาน. ว. ตรงข้ามกับ ออก เช่น ทางเข้า ขาเข้า; ใช้ประกอบคําอื่นแสดงความหมายเร่งรัดหรือเน้นความว่า มากขึ้น เช่น เร็วเข้า คิดเข้า หนักเข้า ดึกเข้า นานเข้า.
  2. เข้า : (โบ) น. ข้าว; ขวบปี.
  3. เข้าเกณฑ์ : ก. เข้าหลักที่กําหนดไว้ เช่น อายุเข้าเกณฑ์.
  4. เข้าเกียร์ : ก. ผลักคันเกียร์ให้เข้าที่เพื่อเปลี่ยนระดับความเร็วของเครื่องยนต์.
  5. เข้าข้อ : น. อาการของโรคชนิดหนึ่งให้เมื่อยขัดอยู่ในข้อ; กามโรคที่ เรื้อรังมาจนถึงทําให้ปวดตามข้อกระดูก, มักใช้เข้าคู่กับคำ ออกดอก เป็น เข้าข้อออกดอก.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เข้า, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เข้า, more than 5 found, display 1-5
  1. เข้ารีต : เปลี่ยนไปถือศาสนาอื่น (มักใช้แก่ศาสนาคริสต์), ทำพิธีเข้าถือศาสนาอื่น
  2. เข้าที่ : นั่งภาวนากรรมฐาน
  3. สัมมุขาวินัย : ระเบียบอันพึงทำในที่พร้อมหน้า, วิธีระงับต่อหน้า ได้แก่การระงับอธิกรณ์ในที่พร้อมหน้าสงฆ์ (สังฆสัมมุขตา คือภิกษุเข้าประชุมครบองค์สงฆ์), ในที่พร้อมหน้าบุคคล ( ปุคคลสัมมุขตา คือ บุคคลที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้นอยู่พร้อมหน้ากัน), ในที่พร้อมหน้าวัตถุ ( วัตถุสัมมุขตา คือยกเรื่องที่เกิดนั้นขึ้นวินิจฉัย), ในที่พร้อมหน้าธรรมวินัย ( ธัมมสัมมุขตา และ วินยสัมมุขตา คือนำเอาหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ตามพระธรรมวินัยมาใช้ปฏิบัติ ได้แก่วินิจฉันถูกธรรม ถูกวินัย); สัมมุขาวินัย ใช้เป็นเครื่องระงับอธิกรณ์ได้ทุกอย่าง
  4. ธรรมคุณ : คุณของพระธรรม มี ๖ อย่าง คือ ๑.สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว ๒.สนฺทิฏฺฐิโก อันผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นชัดด้วยตนเอง ๓.อกาลิโก ไม่ประกอบด้วยกาล ๔.เอหิปสฺสิโก ควรเรียกให้มาดู ๕.โอปนยิโก ควรน้อมเข้ามา ๖.ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ อันวิญญูชนพึงรู้เฉพาะตน
  5. วิปัสสนาญาณ : ญาณที่นับเข้าในวิปัสสนาหรือญาณที่จัดเป็นวิปัสสนามี ๙ อย่าง คือ ๑.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ญาณตามเห็นความเกิดและความดับแห่งนามรูป ๒.ภังคานุปัสสนาญาณ ญาณตามเห็นจำเพาะความดับเด่นขึ้นมา ๓.ภยตูปัฏฐานญาณ ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลัว ๔.อาทีนวานุปัสสนาญาณ ญาณคำนึงเห็นโทษ ๕.นิพพิทานุปัสสนาญาณ ญาณคำนึงเห็นด้วยความหน่าย ๖.มุจจิตุกัมยตาญาณ ญาณหยั่งรู้อันให้ใคร่จะพ้นไปเสีย ๗.ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ ญาณอันพิจารณาทบทวนเพื่อจะหาทาง ๘.สังขารุเปกขาญาณ ญาณอันเป็นไปโดยความเป็นกลางต่อสังขาร ๙.สัจจานุโลมิกญาณ ญาณเป็นไปโดยควรแก่การหยั่งรู้อริยสัจ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เข้า, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้า, more than 5 found, display 1-5
  1. มสารก : (ปุ.) เตียงมีแม่แคร่สอดเข้าในขา. วิ. ยสฺส ปาทจฺฉิทฺเท อฏนิ ปเวเสตฺวา ติฏฺฐติ โส มสารโก. มสฺ อามสเน อร ปัจ. ก สกัด.
  2. กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  3. กติกาสณฺฐาน : นป. การเข้าถึง, การนัดหมายกัน, การตกลงกัน
  4. กปฺปิยานุโลม : นป. ความที่เข้ากันได้กับกฎ, การอนุโลมตามกฎ
  5. กปิฏฐ : ป., นป. มะขวิด; กระพุ่มมือ, การประสานนิ้วมือเข้ากัน
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้า, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เข้า, more than 5 found, display 1-5
  1. เข้าสู่ครรภ์ : คพฺภุปาคมิ
  2. การเข้าร่วม : สโมธานํ
  3. คุกเข้า : ชนฺนุเกหิ ฐตฺวา
  4. ประมวลเข้า : สมฺปิณฺเฑติ, สมนฺนาหรติ
  5. รวมกันเข้าแล้ว : นิธานคต
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เข้า, more results...

(0.3595 sec)