Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เบื้องล่าง, เบื้อง, ล่าง , then บอง, บองลาง, เบื้อง, เบื้องล่าง, ลาง, ล่าง .

Eng-Thai Lexitron Dict : เบื้องล่าง, more than 7 found, display 1-7
  1. nether : (N) ; ซึ่งต่ำกว่า ; Related:ข้างใต้, เบื้องล่าง
  2. nosedive : (N) ; การไถลลงสู่เบื้องล่าง
  3. nosedive : (VI) ; ไถลลงสู่เบื้องล่าง ; Syn:plummet
  4. below : (ADV) ; อยู่ข้างล่าง ; Related:อยู่เบื้องล่าง, อยู่ใต้, ต่ำ ; Syn:beneath, under ; Ant:atop
  5. elementary : (ADJ) ; เบื้องต้น ; Related:พื้นฐาน ; Syn:primary, rudimentary
  6. be below 1 : (PHRV) ; อยู่ชั้นล่าง ; Related:อยู่ข้างล่าง ; Syn:go below, send below, take below
  7. down 1 : (ADV) ; ลงข้างล่าง ; Related:ข้างล่าง, ด้านล่าง, ต่ำลง ; Syn:downward, below, lower ; Ant:upward
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : เบื้องล่าง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เบื้องล่าง, more than 7 found, display 1-7
  1. เบื้องล่าง : (N) ; lower area ; Related:lower position ; Syn:ข้างล่าง, เบื้องต่ำ ; Samp:ดินโคลนและท่อนซุงจากเขาไหลพุ่งลงสู่เชิงเขาเบื้องล่างทุกทิศทาง
  2. เบื้องล่าง : (N) ; lower level ; Syn:ระดับล่าง
  3. ล่าง : (ADJ) ; lower ; Syn:ด้านล่าง, ข้างล่าง ; Ant:บน ; Def:อยู่ในที่หรือฐานะต่ำกว่าสิ่งที่อ้างถึง, ถัดไปข้างใต้ ; Samp:กลีบเครื่องบินมีส่วนประกอบสำคัญ คือ ลำตัว ปีก หาง และฐานล่าง
  4. เบื้องบน : (N) ; upper part ; Related:top (part) ; Ant:เบื้องล่าง ; Def:ที่อยู่สูงขึ้นไป ; Samp:พ่อได้แต่นิ่งเงียบแหงนเงยมองฟ้าเบื้องบนราวจะขอให้ฟ้าชี้ชะตาชีวิตตนเอง
  5. เบื้องบน : (N) ; upper part ; Related:top (part) ; Ant:เบื้องล่าง ; Def:ที่อยู่สูงขึ้นไป ; Samp:พ่อได้แต่นิ่งเงียบแหงนเงยมองฟ้าเบื้องบนราวจะขอให้ฟ้าชี้ชะตาชีวิตตนเอง
  6. เบื้องบน : (N) ; upper part ; Related:top (part) ; Ant:เบื้องล่าง ; Def:ที่อยู่สูงขึ้นไป ; Samp:พ่อได้แต่นิ่งเงียบแหงนเงยมองฟ้าเบื้องบนราวจะขอให้ฟ้าชี้ชะตาชีวิตตนเอง
  7. ใต้ : (PREP) ; under ; Related:beneath, below ; Syn:ล่าง ; Ant:บน, เหนือ ; Def:ที่อยู่ในตำแหน่งต่ำกว่าเมื่อเทียบกับสิ่งอื่น ; Samp:นักประดาน้ำลงไปใต้น้ำเพื่อสำรวจความเสียหายของเรือ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เบื้องล่าง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เบื้องล่าง, more than 5 found, display 1-5
  1. ล่าง : ว. อยู่ในที่หรือฐานะตํ่ากว่าสิ่งที่อ้างถึง, ถัดไปข้างใต้ เช่น พื้นล่าง ชั้นล่าง ข้างล่าง อยู่ล่าง.
  2. เบื้อง : น. ทาง, ข้าง, ด้าน, (ใช้ในลักษณะที่เริ่มต้นไปถึงปลาย สูงตํ่า หรือ ซ้าย ขวา เป็นต้น) เช่น เบื้องต้น เบื้องปลาย เบื้องบน เบื้องล่าง เบื้องซ้าย เบื้องขวา.
  3. บน ๑ : ก. ขอร้องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้ช่วยโดยให้คํามั่นว่าจะให้สิ่งของตอบ แทนหรือทําตามที่ให้สัญญาไว้เมื่อเป็นผลสําเร็จ, บนบาน ก็ว่า. ว. เบื้องสูง, ตรงข้ามกับ เบื้องล่าง, เช่น ข้างบน ชั้นบน เบื้องบน. บ. ในที่ซึ่งอยู่สูงหรือเหนือ เช่น นั่งอยู่บนเรือน วางมือบนหนังสือ มีหนังสือวางอยู่บนโต๊ะ.
  4. เบื้อง : น. ชื่ออาหารว่างอย่างหนึ่ง ทําโดยละเลงแป้งที่ผสมดีแล้วลงบน กระทะแบนที่เรียกว่า กระเบื้อง ให้เป็นแผ่นกลม ๆ และบางเสมอ กัน ใส่ไส้หวานหรือไส้เค็มแล้วพับ ๒ เรียกว่า ขนมเบื้อง หรือ ขนมเบื้องไทย.
  5. เบื้องญวน : น. ชื่ออาหารว่างแบบญวนชนิดหนึ่ง ใช้วิธีกรอกแป้ง ลงบนกระทะให้บางกรอบ ใส่ไส้กุ้งแล้วพับ ๒ เรียกว่า ขนมเบื้อง ญวน.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เบื้องล่าง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เบื้องล่าง, more than 5 found, display 1-5
  1. ทิศ : ด้าน, ข้าง, ทาง, แถบ; ทิศ ๘ คือ อุดร อีสาน บูรพา อาคเนย์ ทักษิณ หรดี ประจิม บูรพา (หรือ ปัจจิม) พายัพ; ทิศ ๑๐ คือ ทิศ ๘ นั้น และทิศเบื้องบน (อุปริมทิศ) ทิศเบื้องล่าง (เหฏฐิมทิศ)
  2. ทิศ ๖ : บุคคลประเภทต่างๆ ที่เราต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์ ดุจทิศที่อยู่รอบตัว จัดเป็น ๖ ทิศ ดังนี้ ๑.ปุรัตถิมทิส ทิศเบื้องหน้า ๒.ทักขิณาทิส ทิศเบื้องขวา ๓.ปัจฉิมทิส ทิศเบื้องหลัง ๔.อุตตรทิส ทิศเบื้องซ้าย ๕.เหฏฐิมทิส ทิศเบื้องล่าง ๖.อุปริมทิศ ทิศเบื้องบน
  3. อนุพยัญชนะ : ลักษณะน้อยๆ, พระลักษณะข้อปลีกย่อยของพระมหาบุรุษ (นอกเหนือจากมหาบุรุษลักษณะ ๓๒) อีก ๘๐ ประการ คือ ๑) มีนิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทอันเหลืองงาม, ๒) นิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทเรียวออกไป โดยลำดับแต่ต้นจนปลาย, ๓) นิ้วพระหัตถ์ แลนิ้วพระบาทกลมดุจนายช่างกลึงเป็นอันดี, ๔) พระนขาทั้ง ๒๐ มีสีอันแดง, ๕) พระนขาทั้ง ๒๐ นั้น งอนงามช้อนขึ้นเบื้องบนมิได้ค้อมลงเบื้องต่ำ ดุจเล็บแห่งสามัญชนทั้งปวง, ๖) พระนขานั้นมีพรรณอันเกลี้ยงกลม สนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๗) ข้อพระหัตถ์และข้อพระบาทซ่อนอยู่ในพระมังสะ มิได้สูงขึ้นปรากฏออกมาภายนอก, ๘) พระบาททั้งสองเสมอกันมิได้ย่อมใหญ่กว่ากันมาตรว่าเท่าเมล็ดงา, ๙) พระดำเนินงานดุจอาการเดินแห่งกุญชรชาติ, ๑๐) พระดำเนินงามดุจสีหราช, ๑๑) พระดำเนินงามดุจดำเนินแห่งหงส์, ๑๒) พระดำเนินงามดุจอุสภราชดำเนิน, ๑๓) ขณะเมื่อยืนจะย่างดำเนินนั้น ยกพระบาทเบื้องขวาย่างไปก่อน พระกายเยื้องไปข้างเบื้องขวาก่อน, ๑๔) พระชานุมณฑลเกลี้ยงกลมงามบริบูรณ์ บ่มิได้เห็นอัฏฐิสะบ้าปรากฏออกมาภายนอก, ๑๕) มีบุรุษพยัญชนะบริบูรณ์คือมิได้มีกิริยามารยาทคล้ายสตรี ๑๖) พระนาภีมิได้บกพร่อง กลมงามมิได้วิกลในที่ใดที่หนึ่ง, ๑๗) พระอุทรมีสัณฐานอันลึก, ๑๘) ภายในพระอุทรมีรอยเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏ, ๑๙) ลำพระเพลาทั้งสองกลมงามดุจลำสุวรรณกัททลี, ๒๐) ลำพระกรทั้งสองงามดุจงวงแห่งเอราวัณเทพยหัตถี, ๒๑) พระอังคาพยใหญ่น้อยทั้งปวงจำแนกเป็นอันดี คือ งามพร้อมทุกสิ่งหาที่ตำหนิบ่มิได้, ๒๒) พระมังสะที่ควรจะหนาก็หนา ที่ควรจะบางก็บางตามที่ทั่วทั้งประสรีรกาย, ๒๓) พระมังสะมิได้หดหู่ในที่ใดที่หนึ่ง ๒๔) พระสรีรกายทั้งปวงปราศจากต่อมและไฝปาน มูลแมลงวันมิได้มีในที่ใดที่หนึ่ง, ๒๕) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสมกันโดยตามลำดับทั้งเบื้องบนแลเบื้องล่าง, ๒๖) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสิ้นปราศจากมลทินทั้งปวง, ๒๗) ทรงพระกำลังมาก เสมอด้วยกำลังแห่งกุญชรชาติ ประมาณถึงพันโกฏิช้าง ถ้าจะประมาณด้วยกำลังบุรุษก็ได้ถึงแสนโกฏิบุรุษ, ๒๘) มีพระนาสิกอันสูง, ๒๙) สัณฐานนาสิกงามแฉล้ม ๓๐) มีพระโอษฐ์เบื้องบนเบื้องต่ำมิได้เข้าออกกว่ากัน เสมอเป็นอันดี มีพรรณแดงงามดุจสีผลตำลึงสุก, ๓๑) พระทนต์บริสุทธิ์ปราศจากมูลมลทิน, ๓๒) พระทนต์ขาวดุจดังสีสังข์, ๓๓) พระทนต์เกลี้ยงสนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๓๔) พระอินทรีย์ทั้ง ๕ มีจักขุนทรีย์เป็นอาทิงามบริสุทธิ์ทั้งสิ้น, ๓๕) พระเขี้ยวทั้ง ๔ กลมบริบูรณ์, ๓๖) ดวงพระพักตร์มีสัณฐานยาวสวย ๓๗) พระปรางค์ทั้งสองดูเปล่งงามเสมอกัน, ๓๘) ลายพระหัตถ์มีรอยอันลึก, ๓๙) ลายพระหัตถ์มีรอยอันยาว ๔๐) ลายพระหัตถ์มีรอยอันตรง บ่มิได้ค้อมคด ๔๑) ลายพระหัตถ์มีรอยอันแดงรุ่งเรือง, ๔๒) รัศมีพระกายโอภาสเป็นปริมณฑลโดยรอบ ๔๓) กระพุ้งพระปรางค์ทั้งสองเคร่งครัดบริบูรณ์ ๔๔) กระบอกพระเนตรกว้างแลยาวงามพอสมกัน ๔๕) ดวงพระเนตรกอปรด้วยประสาททั้ง ๕ มีขาวเป็นอาทิผ่องใสบริสุทธิ์ทั้งสิ้น ๔๖) ปลายเส้นพระโลมาทั้งหลายมิได้งอมิได้คด ๔๗) พระชิวหามีสัณฐานอันงาม ๔๘) พระชิวหาอ่อนบ่มิได้กระด้างมีพรรณอันแดงเข้ม ๔๙) พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจกลีบปทุมชาติ ๕๐) ช่องพระกรรณมีสัณฐานอันกลมงาม ๕๑) ระเบียบพระเส้นทั้งปวงนั้นสละสลวยบ่มิได้หดหู่ในที่อันใดอันหนึ่ง ๕๒) แถวพระเส้นทั้งหลายซ่อนอยู่ในพระมังสะทั้งสิ้น บ่มิได้เป็นคลื่นฟูขึ้นเหมือนสามัญชนทั้งปวง ๕๓) พระเศียรมีสัณฐานงามเหมือนฉัตรแก้ว ๕๔) ปริมณฑลพระนลาฏโดยกว้างยาวพอสมกัน ๕๕) พระนลาฏมีสัณฐานอันงาม ๕๖) พระโขนงมีสัณฐานอันงามดุจคันธนูอันก่งไว้ ๕๗) พระโลมาที่พระโขนงมีเส้นอันละเอียด ๕๘) เส้นพระโลมาที่พระโขนงงอกขึ้นแล้วล้มราบไปโดยลำดับ ๕๙) พระโขนงนั้นใหญ่ ๖๐) พระโขนงนั้นยาวสุดหางพระเนตร ๖๑) ผิวพระมังสะละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๒) พระสรีรกายรุ่งเรืองไปด้วยสิริ ๖๓) พระสรีรกายมิได้มัวหมอง ผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ๖๔) พระสรีรกายสดชื่นดุจดวงดอกปทุมชาติ ๖๕) พระสรีรสัมผัสอ่อนนุ่มสนิท บ่มิได้กระด้างทั่วทั้งพระกาย ๖๖) กลิ่นพระกายหอมฟุ้งดุจกลิ่นสุคนธกฤษณา ๖๗) พระโลมามีเส้นเสมอกันทั้งสิ้น ๖๘) พระโลมามีเส้นละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๙) ลมอัสสาสะและปัสสาสะลมหายพระทัยเข้าออกก็เดินละเอียด ๗๐) พระโอษฐมีสัณฐานอันงามดุจแย้ม ๗๑) กลิ่นพระโอษฐหอมดุจกลิ่นอุบล ๗๒) พระเกสาดำเป็นแสง ๗๓) กลิ่นพระเกสาหอมฟุ้งขจรตลบ ๗๔) พระเกสาหอมดุจกลิ่นโกมลบุบผชาติ ๗๕) พระเกสามีสัณฐานเส้นกลมสลวยทุกเส้น ๗๖) พระเกสาดำสนิททั้งสิ้น ๗๗) พระเกสากอปรด้วยเส้นอันละเอียด ๗๘) เส้นพระเกสามิได้ยุ่งเหยิง ๗๙) เส้นพระเกสาเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏทุกๆ เส้น ๘๐) วิจิตรไปด้วยระเบียบพระเกตุมาลา กล่าวคือถ่องแถวแห่งพระรัศมีอันโชตนาการขึ้น ณ เบื้องบนพระอุตมังคสิโรตม์ฯ นิยมเรียกว่า อสีตยานุพยัญชนะ; ดู มหาบุรุษลักษณะ
  4. กิจเบื้องต้น : ในการอุปสมบท หมายถึง ให้บรรพชา ถือนิสัย ถืออุปัชฌายะ จนถึงถามอันตรายิกธรรมในที่ประชุมสงฆ์ (คำเดิมเป็น บุพกิจ)
  5. ประทักษิณ : เบื้องขวา, การเวียนขวา คือ เวียนเลี้ยวไปทางขวาอย่างเข็มนาฬิกา เป็นอาการแสดงความเคารพ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เบื้องล่าง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เบื้องล่าง, more than 5 found, display 1-5
  1. อธรโต : (อัพ. นิบาต) ข้างล่าง, เบื้องล่าง, เบื้องต่ำ.
  2. อโธ : (อัพ. นิบาต) เบื้องต่ำ, ข้างล่าง, เบื้องล่าง, เป็นเหฎฐาตถวาจกนิบาต.รูปฯว่าลงในอรรถสัตมีแปลว่าในเบื้องต่ำ, ฯลฯ.อโธเมื่อใช้เกี่ยวกับอักขระแปลว่าเอาพญัชนะไว้หน้าสระ.
  3. กณฺฏกาปสฺสย : ป. เตียงนอนที่ทำด้วยหนังสัตว์มีหนามหรือตะปูแหลมรองรับอยู่เบื้องล่าง (เป็นวัตรของนักพรตเปลือยจำพวกหนึ่ง)
  4. อธร : (วิ.) ข้างล่าง, เบื้องต่ำ, น่าชังฯลฯ.ดูอธมประกอบ.รหรืออรปัจ.
  5. อธรา : (อิต.) ทิศเบื้องล่าง, ทิศเบื้องต่ำ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เบื้องล่าง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เบื้องล่าง, 4 found, display 1-4
  1. เบื้องต้น : ปุพฺพก, ตาว, ปฐม
  2. เบื้องปลาย : ปริยนฺต, ปริโยสานํ
  3. เบื้องหน้า : ปรายนํ ปรํ
  4. วางตัวเป็นกลาง : มชฺฌตฺตายาภิยุตา

(0.1942 sec)