Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เพ่งพินิจ, พินิจ, เพ่ง , then พง, พงพนจ, พินิจ, เพ่ง, เพ่งพินิจ, วินิจ .

Eng-Thai Lexitron Dict : เพ่งพินิจ, more than 7 found, display 1-7
  1. pore 1 : (VI) ; เพ่ง ; Related:จดจ่อหรือมีสมาธิกับบางสิ่ง
  2. examine : (VT) ; พินิจพิจารณา ; Related:พินิจ, ตรวจ, สังเกต, จับตามอง, พิเคราะห์ ; Syn:inspect, study
  3. concentrate : (VI) ; เพ่งความสนใจ
  4. Eng-Thai Lexitron Dict : เพ่งพินิจ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เพ่งพินิจ, more than 7 found, display 1-7
  1. เพ่ง : (V) ; stare ; Related:gaze, gape, gawk, goggle, gawp ; Syn:พิศ, จ้องดู, เพ่งพิศ, เพ่งพินิศ ; Def:ใช้ตาจ้องดู เล็งดู ; Samp:ฉันพยายามเพ่งเข้าไปในห้องมืดว่ามีอะไรอยู่
  2. พินิจ : (ADV) ; attentively ; Related:carefully ; Syn:พินิจพิเคราะห์, พิเคราะห์, พินิจพิจารณา ; Def:อย่างตั้งใจหรืออย่างระมัดระวัง ; Samp:หนังสือที่ดีนั้นบางเรื่องอาจจะไม่สนุกเลย แต่เมื่ออ่านอย่างพินิจจึงจะเห็นคุณค่า
  3. พินิจ : (V) ; examine ; Related:consider, look over, inspect ; Syn:พิจารณา, ตรวจตรา, พิเคราะห์, พินิจพิจารณา ; Def:เพ่งตรวจดูด้วยความถี่ถ้วน, ตรวจตราอย่างตั้งใจ ; Samp:หากเราพินิจลึกลงไปอีกอาจมองเห็นอะไรที่แปลกและน่าประหลาดใจเพิ่มขึ้น
  4. การเพ่งพินิจ : (N) ; contemplation ; Related:consideration, deliberation, examination ; Syn:การพินิจพิเคราะห์
  5. เพ่งดู : (V) ; gaze at ; Related:stare at, gaze intently at, watch closely, direct one's attention to ; Syn:เพ่ง, เพ่งมอง ; Def:จ้องมองดูด้วยตา ; Samp:ในโทรทัศน์เขาเตือนว่าอย่าเพ่งดูพระอาทิตย์ด้วยตาเปล่า
  6. เพ่งมอง : (V) ; look fixedly at ; Related:watch attentively ; Syn:เพ่ง, เพ่งดู, พิศดู ; Def:ใช้ตามองดูอย่างเจาะจง ; Samp:เขาพยายามเพ่งมองเปลวเทียนเพื่อฝึกสมาธิ
  7. เพ่งพิศ : (V) ; stare ; Related:gaze, gape, gawk, goggle, gawp ; Syn:เพ่งพินิศ, พิศดู ; Def:เพ่งดู, แลดูโดยเจาะจง ; Samp:ผมเริ่มเพ่งพิศตำรวจคนนั้นเป็นพิเศษเพราะตำรวจนายนั้นวางตัวไม่เหมาะสม
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เพ่งพินิจ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เพ่งพินิจ, more than 5 found, display 1-5
  1. พินิจ : ก. พิจารณา, ตรวจตรา, เช่น เพ่งพินิจ.
  2. เพ่ง : ก. จ้องดู, เล็งดู, (ใช้แก่ตา) เช่น เพ่งสายตา เพ่งหนังสือ; มุ่งเฉพาะ อารมณ์ภายใน (ทางใจ) เช่น เพ่งกสิณ; เจาะจง.
  3. เพ่งพิศ : ก. ดูด้วยความพินิจพิเคราะห์.
  4. เพ่งเล็ง : ก. มุ่งจะเอา, มุ่งจะติโทษ, มุ่งถึง.
  5. แพ่ง : น. แรง, กําลัง; ทาง, แพร่ง. ก. สร้าง; เพ่ง, ตรวจดู, พิจารณา. ว. งาม, น่าดูมาก; (กฎ) ที่เกี่ยวกับสิทธิส่วนเอกชน เช่น กฎหมายแพ่ง คดีแพ่ง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เพ่งพินิจ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เพ่งพินิจ, more than 5 found, display 1-5
  1. กสิณ : วัตถุอันจูงใจ คือ จูงใจให้เข้าไปผูกอยู่ เป็นชื่อของกัมมัฏฐานที่ใช้วัตถุสำหรับเพ่งเพื่อจูงจิตให้เป็นสมาธิ มี ๑๐ อย่าง คือ ภูตกสิณ ๔ : - ๑) ปฐวี ดิน ๒) อาโป น้ำ ๓) เตโช ไฟ ๔) วาโย ลม วรรณกสิณ ๔ :- ๕) นีลํ สีเขียว ๖) ปีตํ สีเหลือง ๗) โลหิตํ สีแดง ๘) โอทาตํ สีขาว และ ๙) อาโลโก แสงสว่าง ๑๐) อากาโส ที่ว่าง - a meditation device; object of meditation; the method of inducing concentration by gazing at any of the ten objects, viz., earth, water, fire, air, blue, yellow, red, white, space and light.
  2. ฌาน : การเพ่งอารมณ์จนใจแน่วแน่ เป็นอัปปนาสมาธิ, ภาวะจิตสงบประณีต ซึ่งมีสมาธิเป็นองค์ธรรมหลัก; ฌาน ๔ คือ ๑.ปฐมฌาน มีองค์ ๕ (วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา) ๒.ทุติยฌาน มีองค์ ๓ (ปีติ สุข เอกัคคตา) ๓.ตติยฌาน มีองค์ ๒ (สุข เอกัคคตา) ๔.จตุตถฌาน มีองค์ ๒ (อุเบกขา เอกัคคตา); ฌาน ๕ ก็เหมือนอย่าง ฌาน ๔ นั่นเอง แต่ตามแบบอภิธรรม ท่านซอยละเอียดออกไป โดยเพิ่มข้อ ๒ แทรกเข้ามา คือ ๑.ปฐมฌาน มีองค์ ๕ (วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา) ๒.ทุติยฌาน มีองค์ ๔ (วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา) ข้อ ๓.๔.๕.ตรงกับ ข้อ ๒.๓.๔.ในฌาน ๔ ตามลำดับ
  3. ทำบุญ : ทำความดี, ทำสิ่งที่ดีงาม, ประกอบกรรมดี ดังที่ท่านแสดงใน บุญกิริยาวัตถุ ๓ หรือบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ แต่ที่พูดกันทั่วไป มักเพ่งที่การเลี้ยงพระตักบาตร ถวายจตุปัจจัยแก่พระสงฆ์ บริจาคบำรุงวัดและการก่อสร้างในวัด เป็นสำคัญ
  4. นิมิต : 1.เครื่องหมาย ได้แก่วัตถุอันเป็นเครื่องหมายแห่งสีมา, วัตถุที่ควรใช้เป็นนิมิตมี ๘ อย่าง ภูเข ศิลา ป่าไม้ ต้นไม้ จอมปลวก หนทาง แม่น้ำ น้ำ 2.(ในคำว่าทำนิมิต) ทำอาการเป็นเชิงชวนให้เขาถวาย, ขอเขาโดยวิธีให้รู้โดยนัย ไม่ขอตรงๆ 3.เครื่องหมายสำหรับให้จิตกำหนดในการเจริญกรรมฐาน, ภาพที่เห็นในใจของผู้เจริญกรรมฐาน, ภาพที่เป็นอารมณ์กรรมฐาน มี ๓ คือ ๑.บริกรรมนิมิต นิมิตแห่งบริกรรม หรือนิมิตตระเตรียม ได้แก่สิ่งที่เพ่ง หรือกำหนดนึกเป็นอารมณ์กรรมฐาน ๒.อุคคหนิมิต นิมิตที่ใจเรียน หรือนิมิตติดตาติดใจ ได้แก่ สิ่งที่เพ่งหรือนึกนั้นเอง ที่แม่นในใจ จนหลับตามองเห็น ๓.ปฏิภาคนิมิต นิมิตเสมือน หรือนิมิตเทียบเคียง ได้แก่ อุคคหนิมิตนั้น เจนใจจนกลายเป็นภาพที่เกิดจากสัญญา เป็นของบริสุทธิ์ จะนึกขยาย หรือย่อส่วนก็ได้ตามปรารถนา 4.สิ่งที่พระโพธิสัตว์ทอดพระเนตรเห็นก่อนเสด็จออกบรรพชา ๔ อย่าง ดู เทวทูต
  5. บริกรรม : 1.(ในคำว่า “ถ้าผ้ากฐินนั้นมีบริกรรมสำเร็จด้วยดี”) การตระเตรียม, การทำความเรียบร้อยเบื้องต้น เช่น ซัก ย้อม กะ ตัด เย็บ เสร็จแล้ว 2.สถานที่เขาลาดปูน ปูไม้ ขัดเงา หรือชักเงา โบกปูน ทาสี เขียนสี แต่งอย่างอื่น เรียกว่าที่ทำบริกรรม ห้ามภิกษุถ่มนำลาย หรือนั่งพิง 3.การนวดฟั้นประคบ หรือถูตัว 4.การกระทำขั้นต้นในการเจริญสมถกรรมฐาน คือ กำหนดใจโดยเพ่งวัตถุ หรือนึกถึงอารมณ์ที่กำหนดนั้น ว่าซ้ำๆ อยู่ในใจ อย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อทำใจให้สงบ 5.เลือนมาเป็นความหมายในภาษาไทย หมายถึงท่องบ่น, เสกเป่า
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เพ่งพินิจ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เพ่งพินิจ, more than 5 found, display 1-5
  1. อุปนิชฺฌายติ : ก. เพ่งพินิจ, ไตร่ตรอง
  2. ฌาน : (นปุ.) ความคิด, ความพินิจ, ความเพ่ง. วิ. ฌายเตติ ฌานํ. เฌ จินฺตายํ, ยุ. ปจฺจนิเก นีวรณธมฺเม ฌาเปตีติ วา ฌานํ. ฌปฺ ฌาปฺ วา ทาเห, ยุ. รูปฯ ๕๘๑ วิ. ฌายตีติ ฌานํ. เฌ ธาตุ ยุ ปัจ. ใน วิ. แปลง เอ เป็น อาย บทปลงแปลง เอ เป็น อา.
  3. ฌายน : (นปุ.) ความเพ่ง, ความพินิจ, ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. เฌ จินฺตายํ ทิตฺติยญจฺ ยุ.
  4. ฌายี : (วิ.) ผู้เพ่ง, ผู้พินิจ, ผู้มีฌาน.
  5. ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ : อิต. ความทนต่อการเพ่งด้วยทิฐิ, อดทนต่อการเพ่งพินิจเพราะทิฐิ, ความปักใจดิ่งด้วยทิฐิ
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เพ่งพินิจ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เพ่งพินิจ, 1 found, display 1-1
  1. เพ่ง : อุลฺโลเกตฺวา, อภิชฺฌายิ

(0.1582 sec)