Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เห็นใจ .

Eng-Thai Lexitron Dict : เห็นใจ, more than 7 found, display 1-7
  1. enter into : (PHRV) ; เห็นใจ ; Related:เห็นแก่
  2. feel with : (PHRV) ; เห็นใจ ; Related:สงสาร ; Syn:feel for
  3. join with : (PHRV) ; เห็นใจ ; Related:สงสาร
  4. simpatico : (N) ; เห็นใจ
  5. take pity on : (PHRV) ; เห็นใจ ; Related:สงสาร
  6. psych out : (IDM) ; เข้าใจ (คำไม่เป็นทางการ) ; Related:เห็นใจ
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : เห็นใจ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เห็นใจ, more than 7 found, display 1-7
  1. เห็นใจ : (V) ; sympathize with ; Related:feel for, have sympathy for, commiserate with, pity ; Syn:เห็นอกเห็นใจ ; Samp:รถเมล์ประกาศยืนหยัดราคาค่ารถ 3.50 บาทเพราะเห็นใจประชาชน
  2. เห็นใจ : (V) ; be present at a deathbed ; Syn:ดูใจ ; Def:มาทันพบก่อนตาย
  3. เห็นอกเห็นใจ : (V) ; sympathize with ; Related:have sympathy for, be emotionally involved with ; Syn:เห็นใจ ; Ant:เห็นแก่ตัว ; Def:ซาบซึ้งถึงจิตใจ ; Samp:หนุ่มสาวที่รักกัน เห็นอกเห็นใจกันอย่างซาบซึ้งแล้ว ก็ย่อมอยากมีพิธีสมรสให้สังคมรับรู้
  4. ความเห็นใจ : (N) ; sympathy ; Related:pity, compassion, commiseration ; Syn:ความเห็นอกเห็นใจ ; Def:ความร่วมรู้สึกในใจ, การเห็นน้ำใจ ; Samp:พรรคฝ่ายค้านกล่าวนำด้วยถ้อยคำที่นุ่มนวล ขอความเห็นใจในช่วงแรก และต่อด้วยการชี้แจงเหตุผล
  5. ความเห็นอกเห็นใจ : (N) ; sympathy ; Related:compassion, condolence ; Syn:ความเห็นใจ, ความเข้าใจ ; Def:ความร่วมรู้สึกในใจหรือเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น ; Samp:ครอบครัวของผู้ตายได้รับความเห็นอกเห็นใจจากชาวบ้านเป็นอย่างมาก
  6. น่าเห็นใจ : (V) ; be sympathized ; Related:be pitiful, be pitiable ; Syn:น่าสงสาร ; Samp:การดำเนินชีวิตของผู้หญิงปัจจุบันน่าเห็นใจเพราะต้องทำทุกอย่างโดยเฉพาะเศรษฐกิจปัจจุบันจะต้องทำทั้ง 2อย่างทำทั้งงานและงานบ้าน
  7. Thai-Eng Lexitron Dict : เห็นใจ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เห็นใจ, 10 found, display 1-10
  1. เห็นใจ : ก. เห็นน้ำใจว่าเป็นอย่างไร เช่นดีหรือชั่ว, ร่วมรู้สึกในความทุกข์ ยากของผู้อื่นเช่น รู้สึกเห็นใจคนจนที่ต้องอดมื้อกินมื้อ; มาทันพบก่อนตาย เช่น เขามาทันเห็นใจก่อนพ่อจะสิ้นลม.
  2. โถ ๒ : อ. คําที่เปล่งออกมาด้วยความสงสารหรือเห็นอกเห็นใจเป็นต้น.
  3. ภาษาธรรม : น. ภาษาที่ใช้มีความหมายในทางธรรม ต่างกับความหมาย ที่ชาวบ้านใช้ เช่น คำว่า เวทนา ในภาษาธรรมหมายถึง การเสวยอารมณ์ ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเฉย ๆ แต่ชาวบ้านใช้หมายถึง สงสารสลดใจ หรือคำว่า สงสาร ในภาษาธรรมหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด แต่ชาว บ้านใช้หมายถึง รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น.
  4. เรียกร้อง : ก. ร้องขอแกมบังคับให้ทำหรือให้งดการกระทำ เช่น เรียกร้อง ขอความเป็นธรรม เรียกร้องขอความเห็นใจ.
  5. ละห้อย : ว. อาการที่พูดเว้าวอนด้วยน้ำเสียงอ่อย ๆ ก่อให้เกิดความสงสาร เห็นอกเห็นใจ เช่น เสียงละห้อย; โศกเศร้าเพราะความผิดหวังหรือ คิดถึง เช่น หน้าละห้อย.
  6. สงสาร ๒ : [สงสาน] ก. รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น, รู้สึกห่วงใยด้วยความเมตตากรุณา, เช่น เห็นเด็ก ๆ อดอยากก็รู้สึก สงสาร เห็นเขาประสบอัคคีภัยแล้วสงสาร.
  7. หัวอก : น. ส่วนเบื้องบนของอกในระดับหัวใจ; (ปาก) สภาพที่น่าเห็นใจ เช่น หัวอกแม่ค้า หัวอกคนจน.
  8. หัวอกหัวใจ : น. สภาพจิตใจที่น่าสงสารหรือน่าเห็นใจเป็นต้น เช่น นั่งก็ไม่ เป็นสุข นอนก็ไม่เป็นสุข หัวอกหัวใจมันร้อนรุ่มไปหมด.
  9. อ้อยส้อย : ว. ทําอาการเศร้าสร้อยอ้อยอิ่งเพื่อให้เขาเห็นใจ.
  10. เอาใจเขามาใส่ใจเรา : (สำ) ก. ให้รู้จักเห็นใจผู้อื่น.

Budhism Thai-Thai Dict : เห็นใจ, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : เห็นใจ, 1 found, display 1-1
  1. ทยิตพฺพ : กิต. อัน...พึงเอ็นดู, พึงสงสาร, พึงเห็นอกเห็นใจ

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เห็นใจ, not found

(0.0197 sec)