Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เอก , then อก, เอก, เอกะ, เอกา .

Eng-Thai Lexitron Dict : เอก, more than 7 found, display 1-7
  1. get away : (PHRV) ; เอกออกไป ; Related:พาออกไป ; Syn:send away, take away
  2. master sergeant : (N) ; จ่าสิบเอก ; Related:พันจ่าอากาศเอก
  3. Air Chief Marshal : (N) ; พลอากาศเอก
  4. army captain : (N) ; ร้อยเอก
  5. dateline : (N) ; ส่วนหัวของจดหมายหรือเอกสารอื่นๆ ที่บอกวันและสถานที่ที่เขียน
  6. doctoral : (ADJ) ; ในระดับปริญญาเอก
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : เอก, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เอก, more than 7 found, display 1-7
  1. เอก : (ADJ) ; great ; Related:excellent, outstanding ; Syn:ดีเลิศ ; Samp:พวกเราเดินทางไปพิพิธภัณฑ์ เพื่อไปชมผลงานศิลปะ และภาพวาดลือชื่อของจิตรกรเอกของโลก
  2. เอก : (ADJ) ; important ; Related:main, principal ; Syn:สำคัญ ; Samp:ตำรวจให้ความสำคัญกับพยานปากเอกคนนี้ เพราะอย่างน้อยก็เคยลงเลือกตั้งมาก่อน
  3. เอก : (ADJ) ; first ; Syn:ที่หนึ่ง ; Samp:วัดราชโอรสารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอกชนิดราชวรวิหาร เดิมชื่อ วัดจอมทอง
  4. เอก : (ADJ) ; lead ; Related:leading ; Syn:ตัวนำ, นำ ; Samp:เขาได้เล่นเป็นตัวเอกในละครเรื่องนี้
  5. เอก : (N) ; one ; Syn:หนึ่ง
  6. เอกบุคคล : (N) ; unique person ; Related:outstanding person, excellent person, great man ; Syn:เอกบุรุษ ; Def:คนเยี่ยมยอด, คนประเสริฐ ; Samp:วัฒนธรรมเป็นปัจจัยเปลี่ยนแปลงสภาพความเป็นอยู่ของมนุษย์ในฐานะที่เป็นเอกบุคคล
  7. เอกบุรุษ : (N) ; great man ; Related:outstanding person, unique person, excellent person ; Syn:เอกบุคคล ; Def:คนเยี่ยมยอด, คนประเสริฐ ; Samp:เพื่อนฝูงและเพื่อนร่วมงานยกให้เขาเป็นเอกบุรุษผู้หนึ่งของเมืองไทย
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เอก, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เอก, more than 5 found, display 1-5
  1. เอก, เอก : [เอกะ, เอกกะ] ว. หนึ่ง (จํานวน); ชั้นที่ ๑ (ใช้เกี่ยวกับลําดับชั้น หรือขั้นของยศ ตําแหน่ง คุณภาพ หรือวิทยฐานะ สูงกว่า โท) เช่น ร้อยเอก ข้าราชการชั้นเอก ปริญญาเอก; เรียกเครื่องหมายวรรณยุกต์ รูปดังนี้ ? ว่า ไม้เอก; ดีเลิศ เช่น กวีเอก, สําคัญ เช่น ตัวเอก; เรียก ระนาดที่มีเสียงแกร่งกร้าวกว่าระนาดทุ้ม มีไม้แข็ง ๒ อันสําหรับตี ว่า ระนาดเอก. (โบ) น. เรียกลูกหญิงคนที่ ๗ ว่า ลูกเอก, คู่กับ ลูกชายคนที่ ๗ ว่า ลูกเจ็ด. (กฎ.). (ป., ส.).
  2. เอกบุคคล, เอกบุรุษ : [เอกกะบุกคน, เอกะบุกคน, เอกกะบุหฺรุด, เอกบุหฺรุด] น. คนเยี่ยมยอด, คนประเสริฐ.
  3. เอกภริยา : [เอกกะพะริยา, เอกพะริยา] (โบ) น. เมียหลวง.
  4. เอกภักดิ์ : [เอกกะ] ว. จงรักต่อคนคนเดียว, ซื่อตรง.
  5. ชิ้นเอก : ว. ดีเด่น เช่น งานชิ้นเอก.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เอก, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เอก, more than 5 found, display 1-5
  1. เอกเสสนัย : อาการกำหนดด้วยเหลือศัพท์เดียว, เป็นวิธีการอย่างหนึ่งในไวยากรณ์บาลี กล่าวคือ บุคคล วัตถุ หรือภาวะบางอย่าง เป็นของควบคู่กันมาด้วยกันเสมอ เมื่อเห็นอย่างหนึ่งก็เป็นอันรู้ถึงอีกอย่างหนึ่งด้วย หรือเป็นของชุดเดียวกัน จำพวกเดียวกัน เมื่อเรียกอย่างหนึ่ง จะหมายถึงอย่างหนึ่งอย่างใดในชุดหรือในจำพวกนั้นก็ได้ ในกรณีเช่นนี้ บางทีท่านกล่าวถึงหรือออกชื่อไว้อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่เพียงอันเดียวให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังหมายรู้อีกอย่างหนึ่งด้วย หรือให้เข้าใจเอาเอง จากข้อความแวดล้อมว่า ในที่นั้น หมายถึงอย่างไหนข้อใดในชุดหรือในจำพวกนั้น จึงเรียกว่า เหลือไว้อย่างเดียว หรือเหลือไว้ศัพท์เดียว เช่น พูดอย่างคำบาลีว่า พระสารีบุตรทั้งหลาย ก็หมายถึง พระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ หรือในหลักปฏิจจสมุปบาท คำว่า นามรูป เป็นเอกเสสหมายถึง นามหรือรูป หรือทั้งนามและรูป คำว่า สฬายตนะ ก็เป็นเอกเสส หมายถึง อายตนะที่ ๖ ก็ได้ อายตนะทั้ง ๖ ก็ได้ ดังนั้น เมื่อพูดว่านามรูปเป็นปัจจัยให้เกิดสฬายตนะ ถ้าหมายถึงอรูปภพก็ต้องแปลความว่า นามเป็นปัจจัยให้เกิดอายตนะที่ ๖ (คือมโน) อนึ่ง เมื่อสิ่งอื่นในชุดเดียวกัน มีคำเฉพาะระบุชัดอยู่แล้ว คำที่เป็นชื่อรวมๆ ของชุด ก็ย่อมหมายถึงสิ่งที่ยังไม่ถูกระบุด้วยคำอื่น เช่น ในคำว่า สุคติ (และ) โลกสวรรค์ สวรรค์เป็นสุคติ แต่มีคำเฉพาะระบุไว้แล้ว ดังนั้น คำว่าสุคติในกรณีนี้จึงหมายถึง โลกมนุษย์ ซึ่งเป็นสุคติอย่างเดียวที่เหลือนอกจากสวรรค์
  2. เอกพีชี : ผู้มีพืชคืออัตภาพอันเดียว หมายถึง พระโสดาบันซึ่งจะเกิดอีกครั้งเดียว ก็จะบรรลุพระอรหัตตผลในภพที่เกิดขึ้น (ข้อ ๑ ในโสดาบัน ๓, บางแห่งท่านจัดกลับเป็นข้อ ๓)
  3. เอกภัณฑะ : ทรัพย์สิ่งเดียวซึ่งมีราคาเพียงพอที่จะเป็นวัตถุแห่งปาราชิก
  4. วจนะ : คำพูด; สิ่งที่บ่งจำนวนนามทางไวยากรณ์ เช่น บาลีมี ๒ วจนะ คือ เอกวจนะ บ่งนามจำนวนเพียงหนึ่ง และ พหุวจนะ บ่งนามจำนวนตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป
  5. วินัยมุข : มุขแห่งวินัย, หลักใหญ่ๆ หรือหัวข้อสำคัญๆ ทีเป็นเบื้องต้นแห่งพระวินัย หรือเป็นปากทางนำเข้าสู่วินัยเป็นชื่อหนังสือที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสทรงรจนาขึ้น เพื่อชี้ประโยชน์แห่งพระวินัยมุ่งช่วยให้พระภิกษุสามเณรตั้งอยู่ในปฏิบัติพองาม ผู้ไม่เคร่งจะได้รู้จักสำรวมรักษามรรยาทสมเป็นสมณะฝ่ายผู้เคร่งครัดเกินไปจะได้หายงมงาย ไม่สำคัญตนว่าดีกว่าผู้อื่น ตั้งรังเกียจผู้อื่นเพราะเหตุผลเล็กน้อย เพียงสักว่าธรรมเนียมหรือแม้ชักนำผู้อื่นในปฏิบัติอันดี ต่างจะได้อานิสงส์คือไม่มีวิปฏิสาร; ทรงมุ่งหมายเพื่อจะแต่งแก้หนังสือบุพพสิกขาวัณณนาของพระอมราภิรักขิต (อมร เกิด) เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส; จัดพิมพ์เป็น ๓ เล่ม ใช้เป็นแบบเรียนนักธรรมชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอก ตามลำดับ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เอก, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เอก, more than 5 found, display 1-5
  1. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  2. เอกจฺจ : (วิ.) หนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, บางคน, บางพวก, บางอย่าง, วังเวง, ไม่มีเพื่อน, โดดเดี่ยว, ฯลฯ. เอโก เอว เอกจฺโจ. เอก ศัพท์ จฺจ ปัจ.
  3. เอกส : (ปุ.) บ่าข้างหนึ่ง. เอก+อสํ.
  4. เอกจตฺตาลีส เอกจตฺตาฬีส : (อิต.) ยี่สิบยิ่ง ด้วยหนึ่ง, ยี่สิบเอ็ด. วิ. เอเกนาธิกา จตฺตาลีสํ เอกจตฺตาลีสํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  5. เอกจารี : ค. ดู เอกจร
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เอก, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เอก, more than 5 found, display 1-5
  1. เป็นเอก : เอก, อทุตย
  2. อก : อุโร, หทยํ
  3. พร้อมกัน : เอกโต
  4. พร้อมใจ : เอกจฺฉนฺทา, สมคฺคจิตฺโต
  5. ร่วมกันทำ : เอกโต กโรนฺติ, เอกโต หุตฺวา กโรนฺติ
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เอก, more results...

(0.1526 sec)