Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แน่นอน , then นนอน, แน่นอน .

Eng-Thai Lexitron Dict : แน่นอน, more than 7 found, display 1-7
  1. altogether : (ADV) ; แน่นอน
  2. by all means : (IDM) ; แน่นอน ; Related:ได้เลย
  3. cocksure : (ADJ) ; แน่นอน ; Syn:certain, sure
  4. def : (SL) ; แน่นอน
  5. Eng-Thai Lexitron Dict : แน่นอน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : แน่นอน, more than 7 found, display 1-7
  1. แน่นอน : (ADV) ; certainly ; Related:surely, definitely ; Syn:แน่ๆ, เป็นแน่ ; Def:อย่างจริงแท้, อย่างเที่ยงแท้ ; Samp:เรื่องเงินลงทุนไม่ต้องพูดถึง ต้องสูงถึงหลักล้านแน่นอน
  2. ขี้คร้าน 2 : (ADV) ; surely ; Related:definitely ; Syn:แน่นอน ; Samp:เธอลองทำดีกับเขาหน่อยซิ ขี้คร้านเขาจะตามใจเธอ
  3. คาบลูกคาบดอก : (ADJ) ; ambiguous ; Related:borderline, equivocal, uncertain ; Syn:ไม่แน่นอน, ก้ำกึ่ง ; Ant:แน่นอน ; Def:ตกอยู่ในระยะคับขันกำลังจะได้หรือเสียก้ำกึ่งกันโดยไม่แน่ว่าจะเป็นอย่างไหน ; Samp:สถานการณ์การเมืองของไทยตกอยู่ในสภาพคาบลูกคาบดอก เอาแน่เอานอนไม่ได้
  4. ตายตัว : (ADJ) ; fixed ; Related:rigid, constant, stable, inflexible ; Syn:แน่นอน, คงที่ ; Ant:ไม่แน่นอน ; Def:คงที่อยู่อย่างนั้นเลื่อนไม่ได้หรือปรับไม่ได้ ; Samp:คณะกรรมการมีบทลงโทษตายตัวกับผู้ที่ทำผิดกฏเกณฑ์ของบริษัท
  5. ตาย 1 : (ADJ) ; fixed ; Related:rigid, inflexible, stiff ; Syn:แน่นอน, ตายตัว ; Def:ที่มีลักษณะแน่นอนเปลี่ยนแปลงไม่ได้หรือปรับไม่ได้ ; Samp:เขาเห็นหล่อนเป็นของตายเลยไม่ค่อยใส่ใจ
  6. เป็นมั่นเหมาะ : (ADV) ; surely ; Related:fixedly, readily, certainly, definitely, absolutely ; Syn:อย่างมั่นเหมาะ, เป็นมั่นเป็นเหมาะ, แน่นอน ; Ant:ไม่แน่นอน ; Def:อย่างเป็นความจริง, อย่างมีความแน่นอน ; Samp:เจ้านายยืนยันเป็นมั่นเหมาะว่า จะไม่มีการจ้างคนออก
  7. ชัวร์ : (ADV) ; surely ; Related:certainly ; Syn:แน่นอน, มั่นใจ ; Samp:เจ้าของรถไม่ได้แวะเข้าปั๊มเพียงเพื่อเติมน้ำมันรถเพียงอย่างเดียวชัวร์
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : แน่นอน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : แน่นอน, more than 5 found, display 1-5
  1. แน่นอน : ว. เที่ยงแท้, จริงแท้.
  2. เป็นตัวเป็นตน : ว. จริงจัง, แน่นอน, ปรากฏชัด, เช่น มีผัว เป็นตัวเป็นตน, เป็นหลักฐาน.
  3. มั่น : ว. แน่, แน่นอน, เช่น ใจมั่น; แน่น เช่น จับให้มั่น.
  4. สัสต : [สัดสะตะ] ว. เที่ยง, แน่นอน, คงที่, ถาวร. (ป. สสฺสต; ส. ศาศฺวต).
  5. แหง ๒, แหง ๆ : [แหฺง, แหฺงแหฺง] (ปาก) ว. แน่, แน่นอน, เช่น ชนะแหง ตายแหง ๆ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : แน่นอน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : แน่นอน, 8 found, display 1-8
  1. ชราธรรม : มีความแก่เป็นธรรมดา, มีความแก่เป็นของแน่นอน, ธรรมคือความแก่
  2. ตถาคต : พระนามอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า เป็นคำที่พระพุทธเจ้าทรงเรียกหรือตรัสถึงพระองค์เอง แปลได้ความหมาย ๘ อย่าง คือ ๑.พระผู้เสด็จมาแล้วอย่างนั้น คือ เสด็จมาทรงบำเพ็ญพุทธจริยา เพื่อประโยชน์แก่ชาวโลก เป็นต้น เหมือนอย่างพระพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ อย่างไรก็อย่างนั้น ๒.พระผู้เสด็จไปแล้วอย่างนั้น คือทรงทำลายอวิชชาสละปวงกิเลสเสด็จไปเหมือนอย่างพระพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ อย่างไรก็อย่างนั้น ๓.พระผู้เสด็จมาถึงตถลักษณะ คือ ทรงมีพระญาณหยั่งรู้เข้าถึงลักษณะที่แท้จริงของสิ่งทั้งหลายหรือของธรรมทุกอย่าง๔.พระผู้ตรัสรู้ตถธรรมตามที่มันเป็น คือ ตรัสรู้อริยสัจ ๔ หรือปฏิจจสมุปบาทอันเป็นธรรมที่จริงแท้แน่นอน ๕.พระผู้ทรงเห็นอย่างนี้ คือ ทรงรู้เท่าทันสรรพอารมณ์ที่ปรากฏแก่หมู่สัตว์ทั้งเทพและมนุษย์ ซึ่งสัตวโลกตลอดถึงเทพถึงพรหมได้ประสบและพากันแสวงหา ทรงเข้าใจสภาพที่แท้จริง ๖.พระผู้ตรัสอย่างนั้น (หรือมีพระวาจาที่แท้จริง) คือ พระดำรัสทั้งปวงนับแต่ตรัสรู้จนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ล้วนเป็นสิ่งแท้จริงถูกต้อง ไม่เป็นอย่างอื่น ๗.พระผู้ทำอย่างนั้น คือ ตรัสอย่างใดทำอย่างนั้น ทำอย่างใด ตรัสอย่างนั้น ๘.พระผู้เป็นเจ้า (อภิภู) คือ ทรงเป็นผู้ใหญ่ยิ่งเหนือกว่าสรรพสัตว์ตลอดถึงพระพรหมที่สูงสุด เป็นผู้เห็นถ่องแท้ ทรงอำนาจ เป็นราชาที่พระราชาทรงบูชา เป็นเทพแห่งเทพ เป็นอินทร์เหนือพระอินทร์ เป็นพรหมเหนือประดาพรหม ไม่มีใครจะอาจวัดหรือจะทดเทียมพระองค์ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ และวิมุตติญาณทัสสนะ
  3. ธรรมฐิติ : ความดำรงคงตัวแห่งธรรม, ความตั้งอยู่แน่นอนแห่งกฎธรรมดา
  4. ธรรมนิยาม : กำหนดแน่นอนแห่งธรรมดา กฎธรรมชาติที่ว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง, สังขารทั้งปวง เป็นทุกข์, ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ดู ไตรลักษณ์
  5. สามัญญลักษณะ : ลักษณะที่เสมอกันแก่สังขารทั้งปวง ได้แก่ ๑.อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง ๒.ทุกขตา ความเป็นทุกข์หรือความเป็นของคงทนอยู่มิได้ ๓.อนัตตตา ความเป็นของไม่ใช่ตัวตนแสดงความตามบาลีดังนี้ ๑.สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ๒.สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ๓.สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งปวงมิใช่ตัวตน; ลักษณะเหล่านี้มี ๓ อย่าง จึงเรียกว่า ไตรลักษณ์, ลักษณะเหล่านี้เป็นของแน่นอน เป็นกฎธรรมดา จึงเรียกว่า ธรรมนิยาม
  6. อนิยต : ไม่แน่, ไม่แน่นอน เป็นชื่ออาบัติที่ยังไม่แน่ ระหว่างปาราชิก สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์ ซึ่งพระวินัยธรจะต้องวินิจฉัย
  7. อัญญสมานาเจตสิก : เจตสิกที่มีเสมอกันแก่จิตพวกอื่น คือ ประกอบเข้าได้รับกับจิตทุกฝ่ายทั้งกุสลและอกุศล มิใช่เข้าได้ฝ่ายหนึ่งฝ่ายเดียว มี ๑๓ แยกเป็น ก) สัพพจิตตสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตทุกดวง) ๗ คือ ผัสสะ (ความกระทบอารมณ์) เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย์ มนสิการ (ความกระทำอารมณ์ไว้ในใจ, ใส่ใจ) ข) ปกิณณกเจตสิก (เจตสิกที่เรี่ยราย คือ เกิดกับจิตได้ทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล แต่ไม่แน่นอนเสมอไปทุกดวง) ๖ คือ วิตก (ความตรึกอารมณ์) วิจาร (ความตรองอารมณ์) อธิโมกข์ (ความปักใจในอารมณ์) วิริยะ ปีติ ฉันทะ (ความพอใจในอารมณ์)
  8. อัญญาโกณฑัญญะ : พระมหาสาวกผู้เป็นปฐมสาวกของพระพุทธเจ้า เป็นรูปหนึ่งในคณะพระปัญจวัคคีย์ เป็นบุตรพราหมณ์มหาศาล เกิดที่หมู่บ้านโทณวัตถุ ไม่ไกลจากกรุงกบิลพัสดุ์ เดิมชื่อ โกณฑัญญะ เป็นพราหมณ์หนุ่มที่สุดในบรรดาพราหมณ์ ๘ คน ผู้ทำนายลักษณะของสิทธัตถกกุมาร และเป็นผู้เดียวที่ทำนายว่า พระกุมารจะทรงออกบรรพชาได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างแน่นอน มีคติเป็นอย่างเดียว ต่อมาท่านออกบวชตามเสด็จพระสิทธัตถะ ขณะบำเพ็ญทุกรกิริยาเป็นหัวหน้าพระเบญจวัคคีย์ และได้นำคณะหลีกหนีไป เมื่อพระมหาบุรุษเลิกบำเพ็ญทุกรกิริยา กลับเสวยพระกระยาหาร ต่อมาเมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วเสด็จไปโปรด ท่านสดับปฐมเทศนา ได้ดวงตาเห็นธรรม ขอบรรพชาอุปสมบทเป็นปฐมสาวกของพระพุทธเจ้า

ETipitaka Pali-Thai Dict : แน่นอน, more than 5 found, display 1-5
  1. กูฏฏฐ : ค. สม่ำเสมอ, เนืองนิจ, แน่นอน, ถาวร, มั่นคง, ไม่หวั่นไหว, ตั้งตรง
  2. ฆน : (วิ.) ไม่ขาด, หนา, ชิด, หยาบ, แข็ง, ตัน, ทึบ, แท่งทึบ, แน่นอน, ปึก, แผ่น, ล่ำ, เป็นก้อน, เป็นกลุ่ม, เป็นกลุ่มเป็นก้อน, หมด, สิ้น. หนฺ พนฺธเน, อ, หสฺส, โฆ.
  3. เถต : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, แข็งแรง, แน่นอน, เป็นหลักฐาน. ฐา ถา วา คตินิวุตฺติยํ, โต. แปลง อา เป็น เอ ถ้าตั้ง ฐา พึงแปลง เป็น ถา.
  4. ธุว : (วิ.) เที่ยง, คงที่, มั่นคง ประจำ, ยืนที่, ยั่งยืน, แน่วแน่, แน่นอน, เนือง, เนืองๆ, บ่อย, ทุกเมื่อ, เป็นนิตย์. ธุ คติเถริเยสุ, อ, ธุวาเทโส. ส. ธฺรุว.
  5. นิจฺจสญฺญา : อิต. ความสำคัญหมายว่าเที่ยง, แน่นอน
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : แน่นอน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : แน่นอน, not found

(0.1377 sec)