Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แบ่งปัน , then บงปน, แบ่งปัน .

Eng-Thai Lexitron Dict : แบ่งปัน, 14 found, display 1-14
  1. apportion among : (PHRV) ; แบ่งปัน ; Related:แบ่งสรรปันส่วนในหมู่, จัดสรร
  2. apportion between : (PHRV) ; แบ่งปัน ; Related:แบ่งสันปันส่วนระหว่าง, จัดสรร
  3. divvy up : (PHRV) ; แบ่งปัน ; Related:เเบ่ง
  4. ration out : (PHRV) ; แบ่งปัน ; Related:แบ่งส่วน
  5. go round 1 : (PHRV) ; แบ่ง ; Related:แบ่งปัน
  6. carve up : (PHRV) ; แบ่งปัน (เช่น แบ่งเงิน) (คำไม่เป็นทางการ)
  7. whack up : (PHRV) ; แบ่งปัน (มักเป็นเงิน) (คำไม่เป็นทางการ) ; Related:แบ่งเงิน
  8. allocate to : (PHRV) ; จัดสรร (มักใช้ passive voice) ; Related:แบ่งปัน, กำหนดให้ ; Syn:allot to
  9. assign : (VT) ; ส่งให้ ; Related:แจกจ่าย, แบ่งปัน ; Syn:allot, distribute
  10. distribute among : (PHRV) ; แจกจ่ายให้กับ ; Related:แบ่งปัน, แจกให้, แจก
  11. lot : (VT) ; แบ่งออกเป็นส่วนๆ ; Related:แบ่ง, แบ่งปัน, แบ่งส่วน ; Syn:divide, distribute
  12. foursome : (N) ; การเล่นกอล์ฟ 4 คน แบ่งเป็น 2 คู่ (ทางกีฬากอล์ฟ)
  13. trisect : (VT) ; แบ่งเป็น 3 ส่วน

Thai-Eng Lexitron Dict : แบ่งปัน, 9 found, display 1-9
  1. แบ่งปัน : (V) ; portion out ; Related:distribute, allot, apportion, parcel out, share out, divide ; Syn:ปัน, แบ่งสันปันส่วน, แบ่งส่วน ; Def:แบ่งส่วนให้บ้าง, แบ่งให้บางส่วน ; Samp:ที่ดินถูกแบ่งปันให้ชาวบ้านเกือบร้อยครอบครัว
  2. เจือจาน : (V) ; share ; Related:distribute, help, aid, support, assist ; Syn:เผื่อแผ่, อุดหนุน, แบ่งปัน, ค้ำจุน, เกื้อกูล ; Samp:เขาเอาทรัพย์สมบัติของเขามาเจือจานญาติพี่น้อง
  3. ปัน : (V) ; divide ; Related:allocate, distribute, share ; Syn:แบ่ง, แบ่งปัน ; Def:แบ่งให้ ; Samp:เมื่อเขาโตแล้วความสนใจที่บิดามารดาเคยทุ่มเทให้เฉพาะตนผู้เดียวก็ถูกปันไปให้น้องๆ
  4. แผ่เผื่อ : (V) ; be generous ; Related:be liberal, be magnanimous, be broad-minded, be philanthropic, be benevolent ; Syn:เผื่อแผ่, เจือจาน, โอบอ้อมอารี, แบ่งปัน ; Ant:ตระหนี่, ขี้เหนียว ; Def:ให้ประโยชน์แก่ผู้อื่นด้วยความโอบอ้อมอารี ; Samp:ถ้าฐานะของเราดีกว่านี้เราคงจะช่วยเหลือตัวเองได้ และแผ่เผื่อให้ผู้อื่นได้ด้วย
  5. ปี : (N) ; year ; Syn:ศก ; Def:เวลา 365 หรือ 366 วันตามปีสุริยคติ แบ่งเป็น 12 เดือน ตามระบบสากล เริ่มตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ; Samp:เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งใหม่เริ่มมีใช้ครั้งแรกในปี 1969 ; Unit:ปี
  6. ยก 2 : (N) ; folio ; Related:quarto, octavo ; Def:เรียกตัวพิมพ์ที่เรียงเข้าหน้าแล้วหรือหนังสือที่ตีพิมพ์แล้ว แบ่งเป็น 4 หน้าบ้าง 8 หน้าบ้าง 16 หน้าบ้าง 32 หน้าบ้าง ว่า ยกหนึ่ง
  7. รา 1 : (N) ; fungus ; Related:mold, mould ; Def:ชื่อเรียกพืชชั้นต่ำที่ไม่มีคลอโรฟีลล์ และลำต้น ใบ ราก ที่แท้จริง ส่วนมากเจริญเป็นเส้นใย แบ่งเป็น 2 พวก คือ ราเมือก และราที่แท้จริง สืบพันธุ์โดยสปอร์ อาศัยอยู่บนซากของพืชหรือสัตว์ เป็นพืชเบียนหรือขึ้นอยู่ร่วมกับพืชอื่นก็มี ; Samp:จุลินทรีย์มีหลายชนิด ที่รู้จักกันดีได้แก่ บัคเตรี รา และไวรัส เป็นต้น
  8. รากสาด : (N) ; typhoid ; Related:typhus ; Def:กลุ่มโรคที่มีอาการไข้สูงนานเป็นสัปดาห์ มีผื่นขึ้น แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ไข้รากสาดน้อย และ ไข้รากสาดใหญ่
  9. เห็ด : (N) ; mushroom ; Related:toad-stool, fungus, fungi ; Def:ส่วนของราที่ออกเป็นดอก แบ่งเป็น 2 ชนิด ชนิดหนึ่งไม่มีพิษ กินได้ อีกชนิดหนึ่งมีพิษ บางชนิดกินแล้วถึงตาย ; Samp:เธอลงมือนั่งยองๆ ช่วยกันกับลูกสาวมองหาเห็ดรอบๆ บริเวณนั้น ; Unit:ดอก

Royal Institute Thai-Thai Dict : แบ่งปัน, more than 5 found, display 1-5
  1. แบ่งปัน : ก. แบ่งส่วนให้บ้าง, แบ่งให้บางส่วน.
  2. คริสตจักร : น. ประชาคมที่เชื่อและรับพระเยซูเป็นพระผู้ไถ่บาป แบ่งเป็น ๓ นิกายใหญ่ ได้แก่ โรมันคาทอลิก โปรเตสแตนต์ และออร์ทอดอกซ์.
  3. ฉบัง : [ฉะ-] น. ชื่อกาพย์ชนิดหนึ่ง บทละ ๑๖ คํา แบ่งเป็น ๓ วรรค วรรคที่ ๑ และ ๓ มี ๖ คำ วรรคที่ ๒ มี ๔ คำ เช่น ไว้ปากไว้วากย์วาที ไว้วงศ์กระวี ไว้เกียรติ์และไว้นามกร. (สามัคคีเภท). (ข. จฺบำง).
  4. เดือนจันทรคติ : [-จันทฺระคะติ] น. การนับเดือนโดยถือเอาดวงจันทร์เดิน รอบโลกเป็นเกณฑ์ โดยนับจากวันเดือนดับไปถึงวันเดือนดับที่ถัดไป มี ระยะเวลาประมาณ ๒๙ วัน ๑๒ ชั่วโมง ๔๔ นาที แบ่งเป็น ข้างขึ้น ข้างแรม.
  5. ภุชงคประยาต : [พุชงคะ–] น. ชื่อฉันท์แบบหนึ่งมี ๑๒ คํา แบ่งเป็น ๒ วรรค มีลหุต้นวรรคและกลางวรรค. (ส.; ป. ภุชงฺคปฺปยาต).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : แบ่งปัน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : แบ่งปัน, 7 found, display 1-7
  1. ฆราวาสธรรม : หลักธรรมสำหรับการครองเรือน, ธรรมของผู้ครองเรือน มี ๔ อย่างคือ ๑.สัจจะ ความจริง เช่น ซื่อสัตย์ต่อกัน ๒.ทมะ ความฝึกฝน ปรับปรุงตน เช่น รู้จักข่มใจ ควบคุมอารมณ์ บังคับตนเองปรับตัวเข้ากับการงานและสิ่งแวดล้อมให้ได้ดี ๓.ขันติ ความอดทน ๔.จาคะ ความเสียสละ เผื่อแผ่ แบ่งปัน มีน้ำใจ
  2. กรรมวาจา : คำประกาศกิจในท่ามกลางสงฆ์, การสวดประกาศ แบ่งเป็น ๒ คือ ญัตติ ๑ อนุสาวนา ๑ - the formal words of an act; text of a formal act, i.e. a motion (ญัตติ) together with one or three proclamations (อนุสาวนา) that may follow.
  3. มัลลกษัตริย์ : คณะกษัตริย์ผู้ปกครองแคว้นมัลละ แบ่งเป็น ๒ พวก คณะหนึ่งปกครองที่นครกุสินารา อีกคณะหนึ่งปกครองที่นครปาวา
  4. วาสนา : อาการกายวาจา ที่เป็นลักษณะพิเศษของบุคคล ซึ่งเกิดจากกิเลสบางอย่าง และได้สั่งสมอบรมมาเป็นเวลานานจนเคยชินติดเป็นพื้นประจำตัว แม้จะละกิเลสนั้นได้แล้ว แต่ก็อาจจะละอาการกายวาจาที่เคยชินไม่ได้ เช่น คำพูดติดปาก อาการเดินที่เร็ว หรือเดินต้วมเตี้ยม เป็นต้น ท่านขยายความว่า วาสนา ที่เป็นกุศล ก็มี เป็นอกุศล ก็มี เป็นอัพยากฤต คือ เป็นกลางๆ ไม่ดีไม่ชั่ว ก็มี ที่เป็นกุศลกับอัพยากฤตนั้น ไม่ต้องละ แต่ที่เป็นอกุศลซึ่งควรจะละนั้น แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่จะเป็นเหตุให้เกิดอาการแสดงออกทางกายวาจาแปลกๆ ต่างๆ ส่วนแรก พระอรหันต์ทุกองค์ละได้ พระอรหันต์อื่นละไม่ได้ จึงมีคำกล่าวว่า พระพุทธเจ้าเท่านั้นละกิเลสทั้งหมดได้ พร้อมทั้งวาสนา; ในภาษาไทย คำว่า วาสนา มีความหมายเพี้ยนไป กลายเป็นอำนาจบุญเก่า หรือกุศลที่ทำให้ได้รับลาภยศ
  5. สีมา : เขตกำหนดความพร้อมเพรียงของสงฆ์, เขตชุมนุมของสงฆ์, เขตที่สงฆ์ตกลงไว้สำหรับภิกษุทั้งหลายที่อยู่ภายในเขตนั้นจะต้องทำสังฆกรรมร่วมกัน แบ่งเป็น ๒ ประเภทใหญ่ คือ ๑.พัทธสีมา แดนที่ผูก ได้แก่ เขตที่สงฆ์กำหนดขึ้นเอง ๒.อพัทธสีมา แดนที่ไม่ได้ผูก ได้แก่เขตที่ทางบ้านเมืองกำหนดไว้แล้วตามปกติของเขา หรือที่มีอย่างอื่นในทางธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนด สงฆ์ถือเอาตามกำหนดนั้นไม่วางกำหนดขึ้นเองใหม่
  6. โสภณเจตสิก : เจตสิกฝ่ายดีงาม มี ๒๕ แบ่งเป็น ก.โสภณสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีงามทุกดวง) ๑๙ คือ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา (ความเป็นกลางในอารมณ์นั้น ๆ = อุเบกขา) กายปัสสัทธิ (ความคลายสงบแห่งกองเจตสิก) จิตตปัสสัทธิ (แห่งจิต) กายลหุตา (ความเบาแห่งกองเจตสิก) จิตตลหุตา (แห่งจิต) กายมุทุตา (ความนุ่มนวลแห่งกองเจตสิก) จิตตมุทุตา (แห่งจิต) กายกัมมัญญตา (ความควรแก่งานแห่งกองเจตสิก) จิตตกัมมัญญตา (แห่งจิต) กายปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งกองเจตสิก) จิตตปาคุญญตา (แห่งจิต) กายชุกตา (ความซื่อตรงแห่งกองเจตสิก) จิตตุชุกตา (แห่งจิต) ข.วีรตีเจตสิก (เจตสิกที่เป็นตัวงดเว้น) ๓ คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ ค.อัปปมัญญาเจตสิก (เจตสิกคืออัปปมัญญา) ๒ คือ กรุณา มุทิตา (อีก ๒ ซ้ำกับอโทสะและตัตรมัชฌัตตตา) ง.ปัญญินทรียเจตสิก ๑ คือ ปัญญินทรีย์ หรือ อโมหะ
  7. อพัทธสีมา : “แดนที่ไม่ได้ผูก” หมายถึงเขตชุมนุมสงฆ์ที่สงฆ์ไม่ได้กำหนดขึ้นเอง แต่ถือเอาตามเขตที่เขาได้กำหนดไว้ตามปรกติของบ้านเมือง หรือมีบัญญัติอย่างอื่นเป็นเครื่องกำหนด แบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ ๑) คามสีมา หรือ นิคมสีมา ๒) สัตตัพภันตรสีมา ๓) อุทกุกเขป

ETipitaka Pali-Thai Dict : แบ่งปัน, 1 found, display 1-1
  1. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : แบ่งปัน, not found

(0.1234 sec)