Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แยก , then ยก, แยก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แยก, 267 found, display 1-50
  1. ทาเรติ : ก. ผ่า, แยก, เซาะ, แตก, พัง, ทำลาย
  2. ทาล ทาฬ : (วิ.) ตัด, ทอน, แตก, แยก, ทำลาย. ทลฺ วิทารเณ, โณ.
  3. เภเทติ : ก. ทำลาย, แบ่ง, แยก, แตก
  4. วฺยปคจฺฉติ : ก. ปราศจาก, แยก
  5. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  6. ปทาร ปทาล ปทาฬ : (วิ.) ทำลาย, แตก, แยก. ปปุพฺโพ, ทรฺ ทลฺ วา วิทารเณ, โณ.
  7. อญฺญตฺตร : (วิ.) แยก.
  8. อริยก : (ปุ.) อริยกะชนชาติอริยกะชื่อชนผู้เป็นต้นตระกูลของพระพุทธเจ้าซึ่งอพยพมาจากตอนเหนือข้ามภูเขามาอยู่ตอนเหนือของชม-พูทวีปคือประเทศอินเดีย (ปัจจุบันแยกออกเป็นหลายประเทศ)
  9. กากปกฺข : (ปุ.) ผมที่ขมวดไว้เป็นหย่อม ๆ (ผมเด็กขมวดแยกออกเป็น ๓ หย่อม หรือ ๕ หย่อม), ผมแหยม (ปอยผมที่เอาไว้เป็น กระจุกบนหัวนอกจากจุก), ไรผม, ปีกของ กา, ปีกกา. กากานํ ปกฺขสณฺฐ านตฺตา กากปกฺโข.
  10. กายวูปกาส : ป. การแยกตนออก, การหลีกออกจากหมู่
  11. ฆรสนฺธิ : อิต. ที่ต่อหรือรอยแยกแห่งเรือน
  12. จตุกฺโกณ : ค. มีสี่มุม, เป็นสี่แยก
  13. จตุกฺโกณรจฺฉา : อิต. ทางสี่แยก
  14. จตุมหาปถ : ป. ทางใหญ่สี่แพร่ง, ทางหลวงสี่แยก
  15. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  16. ทลติ : ก. แบ่งออก, แยกออก, แตกออก
  17. ทฺวิธาปถ : ป. ทางสองแพร่ง, ทางแยก
  18. ทฺวิธาปถ ทฺวิปถ : (ปุ.) ทางสองแพร่ง, ทาง สองแยก.
  19. ทาริต : ค. แตก, ทำลาย, แบ่ง, แยกออก
  20. ทาลน : นป. การผ่า, การแยก, การเซาะ, การแตก, การพัง, การทำลาย
  21. ทิณฺณ : ค. ซึ่งแตก, ซึ่งทำลาย, ซึ่งแยก, ซึ่งขาดสาย
  22. ธาตุวิภาค : ป. การแยกธาตุ, การจำแนกธาตุ; การแจกหรือแบ่งพระธาตุ
  23. นิปฺปเทส : ค. ซึ่งรวมกัน, ซึ่งไม่แยกออกจากกัน
  24. นิปฺผลิต : ค. ซึ่งแตก, ซึ่งทำลาย, ซึ่งแยกออก
  25. ปฏิวิคจฺฉติ : ก. หลีก, หลบ, เลี่ยงไป, แยกจากไปอีก
  26. ปทจฺเฉท : ป. การตัดซึ่งบท, การแยกคำออกจากกันเพื่ออธิบาย
  27. ปทวิคฺคห : ป. การวิเคราะห์บท, การแยกคำออกอธิบาย, การกระจายบทสมาสออกให้เห็นส่วนประกอบ, บทวิเคราะห์
  28. ปปฏิกา ปปฺปฏิกา : (อิต.) กระบิ คือ แท่ง หรือแผ่นหรือชิ้น ที่บิหรือแยกจากส่วน ใหญ่, สะเก็ด คือชิ้นย่อยของไม้หรือหินที่ แยกจากส่วนใหญ่, กะเทาะ คือสิ่งของหรือ เปลือกไม้ที่หลุดจากพื้นเดิม หรือจากต้น. ป+ปฏ+อิก ปัจ. สกัด อาอิต.
  29. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  30. ปภิชฺชติ : ก. แตก, หัก, สลาย, พัง, แยกออก, ถูกทำลาย
  31. ปภิชฺชน : นป. การแตกออก, การแยกออก
  32. ปเภท : (ปุ.) การแยกออกเป็นส่วน, การแยก ออกเป็นส่วน ๆ, การแตก, การทำลาย, ความแตกต่าง, ความต่างกัน, ชนิด, อย่าง, แผนก, ส่วน. ปปุพฺโพ, ภิทิ ทฺวิธากรเณเภ- เท จ, อ. ส. ปฺรเภท.
  33. ปเภทน : (นปุ.) การแยกออกเป็นส่วน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  34. ปวิวตฺต : กิต. แยกออก, ไม่รวมกัน, สงบสงัด
  35. ปวิเวก : ป., ปวิเวกตา อิต. ความสงบสงัด, การแยกออกจากหมู่อยู่แต่ผู้เดียว
  36. ปวิสฺสิเลส : ป. การพราก, การแยกกัน
  37. ปาฏิเยกฺก : ค. แยก, โดดเดี่ยว, ส่วนบุคคล
  38. ปาฏิเยกฺก : ก. วิ. โดยแยกกัน, โดยโดดเดี่ยว, โดยส่วนบุคคล
  39. ผาติ : (อิต.) อันทวี, อันทวีขึ้น, อันเจริญ, อันเจริญขึ้น, อันเพิ่ม, อันเพิ่มขึ้น, การทวี, ฯลฯ, ความทวี, ฯลฯ. ผา ผายฺ วา วุฑฺฒิยํ, ติ. ถ้าตั้ง ผายฺ ธาติพึงลบ ยฺ. การผ่า, การตัด, การฉีก, การแหก, การแยก, การแบ่ง. ผา ผาลเน, ติ.
  40. ผาลก : ค. ซึ่งแตก, ซึ่งแยก, ผู้ผ่า, ผู้ทำให้แตกออก
  41. ผาลิม : ค. ซึ่งเผยออก, ซึ่งผลิออก, ซึ่งแยกออก, ซึ่งเปิดออก, ซึ่งบาน
  42. ภูมิปปฺปฏก ภูมิปปฺปฏิก : (ปุ.) กระบิดิน ชื่อดินที่บิหรือแยกจากส่วนใหญ่.
  43. ภูมิภาค : (ปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดิน (การแยกแผ่นดินออกเป็นส่วนๆ), ภูมิภาค (หัวเมือง).
  44. เภทกร : ค. ผู้แยก, ผู้แบ่ง
  45. มาริส : (ปุ.) เจ้า, ท่าน, ท่านผู้เช่นเรา, ท่านผู้หาทุกข์มิได้, ท่านผู้นิรทุกข์, ท่านผู้เว้นจากทุกข์ (นิทฺทุกฺข ทุกฺขรหิต) . ศัพท์นี้มีอยู่ในกลุ่มคำ มาทิกฺข แล้ว ที่แยกไว้อีกนี้ เพราะคำนี้มักใช้เป็น อาลปนะ.
  46. ววตฺถิต : กิต. วิเคราะห์แล้ว, แยกธาตุแล้ว
  47. ววตฺเถติ : ก. วิเคราะห์, แยกธาตุ
  48. วิคฺคยฺห : กิต. ทะเลาะแล้ว, แยกออกแล้ว
  49. วิคฺคห : ป. การทะเลาะ, การโต้เถียง, การแยกออกเป็นส่วน ๆ, กาย, ตัว
  50. วินิพนฺธ : ก. แยก, เห็นข้อแตกต่าง
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-267

(0.0518 sec)