Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แสดงออก .

Eng-Thai Lexitron Dict : แสดงออก, more than 7 found, display 1-7
  1. vent 1 : (VT) ; แสดงออก ; Related:ปล่อยอารมณ์, ระบายอารมณ์
  2. couch in : (PHRV) ; แสดงออก (ด้วยคำพูด)
  3. express : (VT) ; แสดงออก (ทางความคิดหรือความรู้สึก) โดยใช้คำพูด ; Related:พูดออกมา ; Syn:manifest, reveal, show
  4. work off on : (PHRV) ; แสดงออก (โดยเฉพาะความโกรธ) ; Syn:take out of, take out on, vent on
  5. give to : (PHRV) ; แสดงความคิด ; Related:แสดงออก
  6. give to : (PHRV) ; แสดงความรู้สึก ; Related:แสดงออก
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : แสดงออก, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : แสดงออก, more than 7 found, display 1-7
  1. แสดงออก : (V) ; express ; Related:demonstrate, exhibit, show ; Syn:เปิดเผย ; Def:แสดงความรู้สึกนึกคิดออกมา ; Samp:บรรพบุรุษของไทยได้สร้างผลงานทางประติมากรรมขึ้นเพื่อแสดงออกถึงจิตนาการ ความรู้สึกและความเชื่อ
  2. การแสดงออก : (N) ; expression ; Related:show-off ; Def:พฤติกรรมที่แสดงออกมา ; Samp:วิธีการเรียนแบบฝรั่งก็ไม่จำเป็นว่าจะดีสำหรับเด็กนักเรียนไทยเพราะวิธีการเรียนและการแสดงออกของเด็กไทยต่างจากเด็กฝรั่ง
  3. คาย 1 : (V) ; reveal ; Related:disclose, tell, inform, uncover ; Syn:เปิดเผย, แสดงออก ; Samp:เขาถูกทรมานอย่างสาหัสเพื่อให้คายความลับของทางรัฐบาล
  4. ออกหน้า : (V) ; show off ; Related:display ; Def:แสดงให้ปรากฏ, แสดงออก
  5. กระดี๊กระด๊า : (V) ; giggle mirthfully ; Related:tremble ; Syn:ดี๊ด๊า, ระริกระรี้ ; Ant:สลด ; Def:แสดงออกถึงอาการดีใจดีดดิ้น ; Samp:เขายังไม่ทันได้พูดจบ เธอก็กระดี๊กระด๊าขึ้นมาอย่างระงับความดีใจไว้ไม่อยู่
  6. กลั้น : (V) ; restrain ; Related:suppress, hold back ; Syn:ยับยั้ง, ระงับ, หักห้าม, อั้น ; Def:บังคับความรู้สึกหรือสิ่งที่อยู่ภายในร่างกายไม่ให้แสดงออกหรือหลุดออกมา ; Samp:ทุกคนที่ไปเยี่ยมชมบ้านเด็กกำพร้าต้องกลั้นน้ำตาไว้ เพราะสงสารเด็กกำพร้าเหล่านั้น
  7. ขื่นขม : (V) ; feel bitter ; Related:feel gloomy, feel depressed, feel painful ; Syn:ขมขื่น, ระทม, ตรอมตรม, ทุกข์ใจ ; Def:รู้สึกช้ำใจแต่ฝืนไว้ เพราะไม่สามารถแสดงออกมาได้ ; Samp:เธอรู้สึกขื่นขมอย่างสาหัส แต่ไม่สามารถบอกให้ใครรู้ได้
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : แสดงออก, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : แสดงออก, more than 5 found, display 1-5
  1. คาย ๑ : ก. ปล่อยของที่ไม่ต้องการจะกลืนหรือกลืนไม่ได้ออกจากปาก เช่น คายชานอ้อย; ปล่อยออกมา เช่น คายความร้อน; โดยปริยายใช้หมายถึง อาการของสิ่งที่ติดแน่นเลื่อนออกจากที่เดิม เช่น เรือคายหมัน ลูกประสัก คายตัว, เปิดเผย, แสดงออก, เช่น คายความลับ.
  2. เงียบ : ว. ไม่มีเสียง เช่น นั่งเงียบ, ไม่มีเสียงอื้ออึง เช่น บ้านนี้เงียบ, สงบ, ปราศจากเสียงรบกวนหรือการก่อกวน, เช่น เหตุการณ์เงียบลงแล้ว; โดยปริยายหมายความว่า ไม่กระโตกกระตากเช่น เก็บเรื่องเงียบ, ไม่ แสดงออก เช่น พลังเงียบ. ก. หายไปโดยไม่มีข่าวคราวหรือไม่เป็น ข่าวเลย เช่น หมู่นี้นาย ก เงียบไป.
  3. กระทุ้ง : ก. เอาสิ่งที่มีลักษณะยาวกระแทกให้แน่นหรือให้ออก, โดยปริยายหมายความว่า หนุนให้กระทําหรือกล่าวแสดงออกมา เช่น กระทุ้งให้ร้องเพลง, ทุ้ง ก็ว่า เช่น ชอบแต่ทุบถองทุ้งให้กุ้งกิน. (มณีพิชัย).
  4. กลั้น : [กฺลั้น] ก. บังคับความรู้สึกหรือสิ่งที่อยู่ภายใน ร่างกายไม่ให้แสดงออกหรือหลุดออกมา.
  5. กิริยา : น. การกระทํา; อาการที่แสดงออกมาด้วยกาย, มารยาท, บางทีใช้ในอาการที่ดี เช่น มีกิริยา หมายความว่า มีกิริยาดี. (ป.).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : แสดงออก, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : แสดงออก, 5 found, display 1-5
  1. กฐิน : ตามศัพท์แปลว่า ไม้สะดึง คือไม้แบบสำหรับขึงเพื่อตัดเย็บจีวร; ในทางพระวินัยใช้เป็นชื่อเรียกสังฆกรรมอย่างหนึ่งที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่สงฆ์ผู้จำพรรษาแล้ว เพื่อแสดงออกซึ่งความสามัคคีของภิกษุที่ได้จำพรรษาอยู่ร่วมกัน โดยให้พวกเธอพร้อมใจกันยกมอบผ้าผืนหนึ่งที่เกิดขึ้นแก่สงฆ์ ให้แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งในหมู่พวกเธอ ที่เป็นผู้มีคุณสมบัติสมควร แล้วภิกษุรูปนั้นนำผ้าที่ได้รับมอบไปทำเป็นจีวร (จะทำเป็นอันตรวาสก หรืออุตตราสงค์ หรือสังฆาฏิก็ได้ และพวกเธอทั้งหมดจะต้องช่วยภิกษุนั้นทำ) ครั้นทำเสร็จแล้ว ภิกษุรูปนั้นแจ้งให้ที่ประชุมสงฆ์ซึ่งได้มอบผ้าแก่เธอนั้นทราบเพื่ออนุโมทนา เมื่อสงฆ์คือที่ประชุมแห่งภิกษุเหล่านั้นอนุโมทนาแล้ว ก็ทำให้พวกเธอได้สิทธิพิเศษที่จะขยายเขตทำจีวรให้ยาวออกไป (เขตทำจีวรตามปกติ ถึงกลางเดือน ๑๒ ขยายต่อออกไปถึงกลางเดือน ๔); ผ้าที่สงฆ์ยกมอบให้แก่ภิกษุรูปหนึ่งนั้น เรียกว่า ผ้ากฐิน (กฐินทุสสะ); สงฆ์ผู้ประกอบกฐินกรรมต้องมีจำนวนภิกษุอย่างน้อย ๕ รูป; ระยะเวลาที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ประกอบกฐินกรรมได้ มีเพียง ๑ เดือน ต่อจากสิ้นสุดการจำพรรษา เรียกว่า เขตกฐิน คือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒
  2. วาสนา : อาการกายวาจา ที่เป็นลักษณะพิเศษของบุคคล ซึ่งเกิดจากกิเลสบางอย่าง และได้สั่งสมอบรมมาเป็นเวลานานจนเคยชินติดเป็นพื้นประจำตัว แม้จะละกิเลสนั้นได้แล้ว แต่ก็อาจจะละอาการกายวาจาที่เคยชินไม่ได้ เช่น คำพูดติดปาก อาการเดินที่เร็ว หรือเดินต้วมเตี้ยม เป็นต้น ท่านขยายความว่า วาสนา ที่เป็นกุศล ก็มี เป็นอกุศล ก็มี เป็นอัพยากฤต คือ เป็นกลางๆ ไม่ดีไม่ชั่ว ก็มี ที่เป็นกุศลกับอัพยากฤตนั้น ไม่ต้องละ แต่ที่เป็นอกุศลซึ่งควรจะละนั้น แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่จะเป็นเหตุให้เกิดอาการแสดงออกทางกายวาจาแปลกๆ ต่างๆ ส่วนแรก พระอรหันต์ทุกองค์ละได้ พระอรหันต์อื่นละไม่ได้ จึงมีคำกล่าวว่า พระพุทธเจ้าเท่านั้นละกิเลสทั้งหมดได้ พร้อมทั้งวาสนา; ในภาษาไทย คำว่า วาสนา มีความหมายเพี้ยนไป กลายเป็นอำนาจบุญเก่า หรือกุศลที่ทำให้ได้รับลาภยศ
  3. ศิลปะ : ฝีมือ, ความฉลาดในฝีมือ, ฝีมือทางการช่าง, การแสดงออกมาให้ปรากฏอย่างงดงามน่าชม, วิชาที่ใช้ฝีมือ, วิชาชีพต่างๆ
  4. สัญญมะ : การยับยั้ง, การงดเว้น (จากบาป หรือจากการเบียดเบียน), การบังคับควบคุมตน; ท่านมักอธิบายว่า สัญญมะ ได้แก่ ศีล, บางทีแปลว่า สำรวม เหมือนอย่าง “สังวร”; เพื่อความเข้าใจชัดเจนในเบื้องต้น พึงเทียบความหมายระหว่างข้อธรรม ๓ อย่าง คือ สังวร เน้นความระวังในการรับเข้า คือปิดกั้นสิ่งเสียหายที่จะเข้ามาจากภายนอก สัญญมะ ควบคุมตนในการแสดงออก มิให้เป็นไปเพื่อการเบียดเบียน เป็นต้น ทมะ ฝึกฝนแก้ไขปรับปรุงตน ข่มกำจัดส่วนร้ายและเสริมส่วนที่ดีงามให้ยิ่งขึ้นไป; สังยมะ ก็เขียน
  5. โอภาส : 1) แสงสว่าง, แสงสุกใส ผุดผ่อง (ข้อ ๑ ในวิปัสสนูปกิเลส ๑๐) 2) การพูดหรือแสดงออกที่เป็นเชิงเปิดช่องทางหรือให้โอกาส เช่นที่พระพุทธเจ้าทรงกระทำโอภาส ณ ที่ต่างๆ หลายแห่ง ซึ่งถ้าพระอานนท์เข้าใจ ก็จะทูลขอให้ทรงดำรงพระชนม์อยู่ตลอด (อายุ) กัป

ETipitaka Pali-Thai Dict : แสดงออก, 7 found, display 1-7
  1. อุลฺลิงฺเคติ : ก. แสดงออก
  2. กายวิญฺญตฺติ : อิต. กิริยาให้รู้ชัดด้วยการไหวกาย, การแสดงออกทางกาย, การบอกกล่าว, การชี้แจง
  3. นิทฺทส : ป. การชี้แจง, การแสดงออก, การจำแนกออกพรรณนา, การแนะนำ
  4. นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
  5. นิทสฺสน : (วิ.) แสดงออก, อ้าง, อ้างถึง, เป็น ตัวอย่าง.
  6. วจน : นป. คำพูด, คำกล่าว, การแสดงออกทางวาจา
  7. อวินิธาย : ค. ไม่เข้าไปตั้งไว้ผิด, ไม่แสดงออกผิด

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : แสดงออก, 1 found, display 1-1
  1. แสดงออก, ไข : นิทฺทิสติ

(0.0471 sec)