Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โค้ง , then คง, โค้ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โค้ง, 63 found, display 1-50
  1. กุญฺจิต : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, ปิด, แนบ, แน่น, สนิท.
  2. กุฏ กุฏก : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อ. ตัด, เกี่ยว, พัน, แบ่ง. กุฏฺ เฉทเน, อ.
  3. กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
  4. กุณฺฐ : ค., ป. เป็นง่อย, โค้ง, คดงอ; เกียจคร้าน, ไม่คม; คนเป็นง่อย
  5. โกฏิล โกฏิลฺล โกฏิลฺย : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, บิดเป็นเกลียว. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิโล. ศัพท์ที่ ๒ แปลง ล เป็น ลฺล ศัพท์ที่ ๓ แปลง ล ตัวหลังเป็น ย.
  6. จริมฺห : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด.
  7. ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
  8. นินฺนาเมติ : ก. น้อมลง, ก้มลง, โค้ง, แลบออก
  9. ปฏิกุชฺเชติ : ก. งอ, โค้ง, โก่ง
  10. ปณมติ : ก. น้อมกายลงแสดงความเคารพ, นอบน้อม, เคารพ, บูชา, โค้ง, งอ
  11. ปณาเมติ : ป. น้อม, ก้ม, โค้ง, ประนม, ไหว้
  12. วงฺก : ๑. ค. คด, งอ, โค้ง; ๒. นป. ชื่อภูเขา; กีบเท้าสัตว์, เบ็ด
  13. สมฺมิญฺชติ : ก. งอ, โค้ง
  14. หุจฺฉน : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ. หุจฺฉโกฎิลฺเล, ยุ.
  15. อนุชุ : (วิ.) ไม่มีความตรง, มิใช่ตรง, ไม่ใช่ตรง, คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, ชั่ว.วิ.นตฺถิ อุชุตายสฺส โสอนุชุ.
  16. อภินมติ : ก. ก้มลง, โค้ง, งอ
  17. อฬาร : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด.วิ.อลตีติอฬารํ.อลฺพนฺธเน, อโร.แปลงลเป็นฬ
  18. โอภญฺชติ : ก. ม้วน, งอ, โค้ง, ทบ
  19. กฏฺฐ การ : (ปุ.) ช่างไม้ วิ. กฏฺฐํ กโรตีติ กฏฺฐ กาโร. ณ ปัจ. กฏฺฐ าริ (ปุ.อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับถาก ไม้ชนิดหนึ่ง รูปคล้ายจอบ ใส่ด้ามยาว สำหรับถือถาก ใบหนากว่าจอบ แต่โค้งงอ มาทางผู้ถือด้าม.
  20. กุชน : ค. โค้ง, งอ
  21. กุฏิล : ค., นป. โค้ง, งอ, โกง, คดโกง; ส่วนที่โค้ง, ที่คด, ที่งอ
  22. กุณฺฑิก : ค. ผู้ดัด, ผู้ฝึกให้คดหรือให้โค้ง (ในคำว่า อหิกุณฺฑิก หมองู)
  23. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  24. ตคฺครุก : ค. ซึ่งโค้งบรรจบกัน
  25. นติ : อิต. การก้ม, การน้อม,การเอียง, การโค้ง, การโน้มลง
  26. นิกฺกุชฺชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
  27. นิกฺกุชฺเชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
  28. นิกุชฺชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
  29. นินฺนต : ค. ซึ่งน้อมลง, ซึ่งโค้งลง, ซึ่งเอนลง
  30. นิพฺพงฺก : ค. ซึ่งไม่คด, ซึ่งไม่งอ, ซึ่งไม่โค้ง, ตรง
  31. นิพฺโภค : ๑. ป., นป. การโค้ง, การก้ม, บิดไปมา; ๒. ค. ไม่มีโภคะ, ไร้ผล, ไม่มีประโยชน์
  32. ปฏิกุชฺชน : นป. การงอ, การโค้ง, การโก่ง
  33. สวงฺก : ค. มีโค้ง, มีคด
  34. อกฺขิค : (นปุ.) วัตถุอันโค้งอยู่ที่ตา, ขนหางตาขนตา, ขนคิ้ว.อกฺขิ+อค.
  35. อภินต : กิต. โค้ง, ก้มลง, งอ
  36. อสนฺนต : ค. ไม่โค้ง, ไม่งอ
  37. อาเวลิต, - เวลฺลิต : ค. ซึ่งโค้ง, ซึ่งม้วนเข้า
  38. อาเวลิตสิงฺคิก : ค. มีเขาโค้ง, มีเขางอ
  39. โอโภค : (ปุ.) ขนด, การม้วน, การคด, การโค้ง, ความคด, ความโค้ง, โอปุพฺโพ, ภุชฺ โกฏิลฺเล, อ, โณ วา.
  40. ถริ : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, ตั้งมั่น, ยั่งยืน, แข็ง, แข็งแรง, คงที่. ฐา ถา วา คตินิวุตติยํ, อิโร. ถ้าตั้ง ฐา ธาตุ ก็แปลงเป็น ถา.
  41. ถาน : (วิ.) หยุด, หยุดอยู่, ยืน, ยืนอยู่, ตั้ง, ตั้งอยู่, ดำรง, ดำรงอยู่, คง, คงอยู่.
  42. เถต : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, แข็งแรง, แน่นอน, เป็นหลักฐาน. ฐา ถา วา คตินิวุตฺติยํ, โต. แปลง อา เป็น เอ ถ้าตั้ง ฐา พึงแปลง เป็น ถา.
  43. เถร : (วิ.) แก่, เฒ่า, มั่น, คง, มั่นคง, ใหญ่, อ้วน.
  44. ทฬฺหี : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง.
  45. ปาริวฏฺฏก : คง เปลี่ยนแปลง, หมุนรอบ, แลกเปลี่ยน
  46. นกฺก : (ปุ.) จระเข้ วิ. น กมตีติ นกฺโก. นปุพโพ กมฺ คติยํ, กฺวิ. ลบที่สุดธาตุ ซ้อน กฺ คง น ไว้ไม่แปลง หรือตั้ง นกฺกฺ นาสเน, อ. ส. นกฺร.
  47. พฺยตฺติ : (อิต.) ความฉลาด, ฯลฯ, ความจัดเจน, ความจัดจ้าน, ความประจักษ์แจ้ง, ความปรากฏ. วิปุพฺโพ, อทฺ คติยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ หรือ คง ติ ไว้แปลง ทฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  48. เสณ เสน : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว, หนามเล็บเหยี่ยว ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. สิ พนฺธเน. ณ, น ปัจ. คง ณ ไว้ วิการ อิ เป็น เอ หรือ เส คติยํ.
  49. เสณิ : (ปุ.) หมู่คนมีศิลปะมีชาดเสมอกัน วิ. สชาตีนํ เตสํ สิปฺปีนํ สํฆาโต เสณิ. สิ เสวายํ, ณิ. คง ณ ไว้.
  50. คภีร คมฺภีร : (วิ.) ลึก, ซึ้ง, ลึกซึ้ง, สุขุม. คมฺ คติยํ, อีโร. มฺโลโป, โภ สมฺโพเธ. ศัพท์ หลังคง มฺ ไว้. คจฺฉนฺตา ภายนฺติ อสฺมินฺติ คภีโร. โค วุจฺจติ ปฐวี, ตํ ภินฺทิตฺวา คจฺฉติ ปวตฺตตีติ วา. คมฺภีโร. ค ภิทิ ปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น มฺ ลบ ทิ ทีฆะ อิ เป็น อี ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. ส. คภฺภีร.
  51. [1-50] | 51-63

(0.0153 sec)