Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โน้ตเพลง, โน้ต, เพลง , then นต, โน้ต, โน้ตเพลง, พลง, เพลง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โน้ตเพลง, 51 found, display 1-50
  1. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  2. นต : ค. ซึ่งก้ม, ซึ่งน้อม,ซึ่งเอียง
  3. คีต : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การร้องเพลง, การเล่นขับร้อง, การเล่นร้อง เพลง. วิ. คายนํ คีตํ. เค สทฺเท, โต, เอ การสฺส อีกาโร. รูปฯ ๖๐๗ แปลง เค เป็น คี. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  4. คายก : (ปุ.) คนขับร้อง, คนร้องเพลง. เค สทฺเท, ณฺวุ. เอการสฺส อายกาโร.
  5. คายติ : ก. ขับร้อง, ร้องเพลง, สาธยาย
  6. คายน : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การขับกล่อม, การร้องเพลง, เพลงขับ. ยุ ปัจ.
  7. คีตก : นป. เพลง, เสียงเพลงเบาๆ
  8. คีตรว, - สทฺท, - สร : ป. เสียงขับร้อง, เสียงเพลง
  9. คีติ : (อิต.) การขับ ฯลฯ วิ. คายนํ คีติ. เค สทฺเท, ติ. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  10. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  11. ถรุ : (ปุ.) ด้าม เช่นด้ามกระบี่เป็นต้น วิ. ตรตีติ ถรุ. ตรฺ ตรเณ, อุ, ตสฺส โถ, อถวา, ถรฺ สตฺถคติยํ, อุ. ถรุ เป็นชื่อของอาวุธทั่วๆ ไปก็มี เพลงอาวุธ ก็แปล.
  12. นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การฟ้อน รำและเพลงอันบุคคลพึงขับและดนตรี อันบุคคลพึงประโคมและการดูการเล่น อันเป็นข้าศึกแก่กุศล, การฟ้อนและการขับและการประโคมดนตรีและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศล. สำนวนการแปลแรกที่แปล คีต และ วาทิต ว่าพึงนั้นแปลตามรูป วิ. เคตพฺพนฺคิ คีตํ. วาทิตพฺพนฺติวาทิตํ.
  13. ปฏิคายติ : ก. ขับเพลงตอบ, ร้องเพลงตอบ
  14. ปฏิคีต : นป. เพลงขับตอบ, เพลงที่ร้องโต้ตอบ
  15. วณิพฺพก : ป. วณิพก, คนขอทานโดยร้องเพลง
  16. วิกูชติ : ฏ. ร้องเจี๊ยวจ๊าว, ร้องเพลง
  17. อจฺจติ : ก. ร้องเพลง, สรรเสริญบูชา
  18. อนุปท : (นปุ.) บทน้อย, บทภายหลัง, บทตาม, อนุบท (บทลูกครู่บทรับของเพลง และกลอน).ส.อนุปท.
  19. อุปคายติ : ก. ร้องเพลง
  20. นติ : อิต. การก้ม, การน้อม,การเอียง, การโค้ง, การโน้มลง
  21. นิติ : (อิต.) แบบ, แบบแผน, แบบอย่าง, กระบวน ขบวน (แบบแผน), ประเพณี, กฎหมาย, นิติ, นีติ, เนติ. นิ นเย, ติ.
  22. นีต : กิต. นำไปแล้ว
  23. นีติ : อิต. การนำไป, การแนะนำ, กฎ, ข้อบังคับ
  24. นุติ : อิต. ความชมเชย
  25. เนติ : ๑. ก. นำไป, ย่อมแนะนำ ; ๒. อิต. การแนะนำ, ระเบียบ, กฎ
  26. เนตุ : ป. ผู้นำไป
  27. ปริณต ปรินต : (วิ.) น้อมไปโดยรอบ, แปรไป, เปลี่ยนแปลง, คร่ำคร่า, แก่, แก่จัด, แก่เฒ่า, ปริ+นมฺ+ต ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  28. อภิตฺถนติ, - นยติ, - เนติ : ก. คำรามร้อง, แผดเสียง, กระหึ่ม
  29. อภินต : กิต. โค้ง, ก้มลง, งอ
  30. นตงฺต : (วิ.) มีอินทรีย์อันสำรวมแล้ว. นต+องฺค.
  31. กนฺต : (วิ.) ดี. งาม, ดีงาม, ดีนัก. พอใจ, รักใคร่, ชอบใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ชอบ ใจ. กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ. ส. กนฺต.
  32. กนฺตา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง (นามนาม มิใช่ วิเสสนะ), นาง, ภรรยา?, กานดา (หญิงที่ รัก). กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ อาอิต.
  33. กนฺติ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี, ความต้องการ, อำนาจ. กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่ สุดธาตุ. ความงาม, ความสวยงาม, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง. วิ. กนตีติ กนฺติ. กนนํ วา กนฺติ. กนฺ. ทิตติยํ, ติ. การก้าว ไป, ความก้าวไป. วิ. กมนํ กนฺติ. กมฺปท วิกฺเขเป, ติ.
  34. ขนฺติ : (อิต.) ความทน, ความอดทน, ความอดกลั้น. วิ. ขมนํ ขนฺติ. ขมฺ สหเน, ติ, ติสฺส นฺติ, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. แปลว่า ความควร ความชอบ, ความชอบใจบ้าง.
  35. ขนฺตุ : (วิ.) ผู้ทน, ฯลฯ. ตุ ปัจ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือแปลง มฺ เป็น นฺ.
  36. คนฺตุ. : (วิ.) ผู้ไป วิ. คจฺฉตีติ คนฺตา. คมฺ คติยํ, ตุ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือไม่แปลง ตุ แปลง มฺ เป็น นฺ ก็ได้.
  37. คุณวตี คุณวนฺตี : (วิ.) (หญิง.) ผู้มีความดี. ศัพท์แรกแปลง นฺตุ เป็น ต อีอิต.
  38. จนฺทิมนฺตุ : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์ วิ. จนฺทํ กปฺปูรํ มาติ สทิสํ นยตีติ จนฺทิมา. จนฺทปุพฺโพ, มา มานสทฺเทสุ, ตุ,นฺตุอาเทโส ( แปลง ตุ เป็น นฺตุ ), อิการาเทโส ( แปลง อ ที่ ท เป็น อิ ). ฎีกาอภิฯ.
  39. ทนฺติ : (อิต.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, ความทรมาน, ฯลฯ. ทมฺ ทมเน, ติ. แปลง มฺ เป็น นฺ หรือแปลง ติ เป็น นฺติ แล้วลบที่สุดธาตุ.
  40. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  41. นจฺจน : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อนรำ. นตฺ คตฺตวิมาเน, ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน.
  42. นจฺจาปน : (วิ.) ให้ฟ้อนอยู่. นตฺ ธาตุ ย ปัจ. ประจำธาตุ ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ ปัจ. แปลง ตฺย เป็น จฺจ ลบ ณฺ และ เอ แปลง ยุ เป็น อน.
  43. นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
  44. นตฺติ : (อิต.) การฟ้อน, ฯลฯ. นตฺ ธาตุ ติ ปัจ.
  45. นตฺย : (นปุ.) การฟ้อน, ฯลฯ, นตฺ คตฺตวิมาเน, โย.
  46. นิกนฺติ : (อิต.) ความอยาก, ความอยากได้, ความโลภ, ความปรารถนา, ความชอบใจ, ความรัก, ความยินดี, ความใคร่, ตัณหา. กมุ อิจฺฉายํ, ติ. แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่สุด ธาตุ.
  47. ปนฺต : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, สงัด.ปปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบที่สุดธาตุ.
  48. ภนฺติ : (อิต.) ความไม่ตั้งลง, การหมุน, ความหมุน, ภมฺ อนวฏฺฐาเน, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบ มฺ.
  49. มฆวนฺตุ : (ปุ.) มฆวัน มฆวา มฆวาน ท้าวมฆวาน มฆวะ เป็นชื่อของพระอินทร์ทุกคำ วิ. มหิตพฺพตฺตา มฆวา. มหฺ ปูชายํ, วนฺตุ, หสฺส โฆ. เป็น มฆวนฺตุ ลง สิปฐมา วิภัติ เอา นฺตุ กับ สิ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น มฆวา.
  50. มชฺฌณฺห : (ปุ.) ท่ามกลางแห่งวัน, เที่ยงวัน, มัธยัณห์. วิ. อหสฺส มชฺโฌ มชฺฌ-โณฺห. แปลง อห เป็น อณฺห. เป็น มชฺฌนฺต โดยแปลง อห เป็น นฺต ก็มี.
  51. [1-50]

(0.0587 sec)