Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โน้มเอียง, เอียง, โน้ม , then นม, โน้ม, โน้มเอียง, เอียง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โน้มเอียง, 97 found, display 1-50
  1. นติ : อิต. การก้ม, การน้อม,การเอียง, การโค้ง, การโน้มลง
  2. นานาธิมุตฺติกตา : อิต. ความเป็นต่างๆ กันแห่งอัธยาศัย, ความต่างๆ กันแห่งความโน้มเอียง
  3. ปจาลก : ค. หมุน, แกว่ง, เอน, เอียง
  4. ปริปฺลว : ค. สั่น, เอียง, ระส่ำระสาย, เร่ร่อนไป, ไหว, สั่น, โยก, เรรวน, เลื่อนลอย
  5. นม : (นปุ.) การน้อม.การนอบน้อม,การเคารพ,การไหว้,การกราบไหว้,ความน้อม,ฯลฯ.นมฺนมุนมเน.อ.ยุ.
  6. อานมนา : อิต. การน้อมไป, การโน้มไป
  7. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  8. ฉนฺทาคติ : (อิต.) ความลำเอียงเพราะความรัก, ความลำเอียงเพราะความรักใคร่, ความลำเอียงเพราะความรักใคร่กัน ความลำ เอียงเพราะความพอใจ.
  9. นต : ค. ซึ่งก้ม, ซึ่งน้อม,ซึ่งเอียง
  10. นินฺนตา : อิต. ความต่ำ, ความเอียง, ความเท
  11. นินฺนามี : ค. อันโน้มลง, อันน้อมลง
  12. ปทกฺขิณ : (วิ.) ดี, เจริญ, รุ่งเรือง, สุจริต, ( ตรง ซื่อ ซื่อตรง ไม่เอนเอียง จริง).
  13. ปริกปฺป : (ปุ.) ความคำนึง, ความดำริ, ความตรึก, ความกำหนด, ความเอนเอียง, คำ ปริกัป, บริกัลป์. ปริปุพฺโพ, กปฺปฺ วิตกฺก ปริจฺเฉเทสุ, อ. ส. ปริกลฺป.
  14. โปณ : (วิ.) เอียง, เอียงไป, น้อม, น้อมไป, ลุ่ม, ลึก, เงื้อม, หวั่นไหว, หลบหลีก. ปุ โอนเต, โณ. ไม่ลบ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ.
  15. วิกูล : ค. เอียง, ลาด
  16. อภินินฺนาเมติ : ก. โน้มน้อมไป, น้อมลงไป, นำไปสู่
  17. อภินิเวส : ป. ความยึดมั่น, ความโน้มน้าว, ความประสงค์
  18. อาเนชฺช, - เนญฺช, - นญฺช, - ณญฺช : ค. ไม่หวั่นไหว, ไม่เอนเอียง, ถาวร, มั่นคง
  19. อาวชฺเชติ : ก. ให้คิด, ให้พิจารณา, ให้เอนเอียง
  20. อุตฺตรายน : (นปุ.) พระอาทิตย์เป็นไปเหนือ. วิ. อุตฺตรํ ทิสํ อยติ สุริโย เอตฺถาติ อุตฺตรายนํ. อุตฺตรปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คมเน, ยุ. ความจริงโลกเอียงไปทางใต้ เพราะโลก เดินรอบดวงอาทิตย์. ส. อุตฺตรายณ.
  21. อุปนต : กิต. น้อมเข้าไปแล้ว, โน้มลงแล้ว
  22. อุเปกฺขติ : ก. เข้าไปเพ่ง, เข้าไปเห็น, วางเฉย, ไม่เอนเอียง
  23. โอณมติ : ก. ก้มลง, โน้มลง
  24. โอณมน : นป. การก้มลง, การโน้มลง
  25. โอนมก : ค. ซึ่งก้มลง, ซึ่งโน้มลง
  26. โอลงฺฆนา : อิต. การโน้มตัวลง
  27. นมการ นมกฺการ : (ปุ.) การทำซึ่งการน้อม, ฯลฯ, นมัสการ. วิ. นโมกรณํ นมกาโร นมกฺการโร วา.
  28. นมม : (นปุ.) ความสุข. นมมํ + ย ปัจ.
  29. นมมทา : (อิต.) นัมมทา ชื่อแม่น้ำสายที่ห้าใน สาย. วิ. นมมํ สุขํ ททาตีติ นมมทา (ให้ความสุข).
  30. นมตก : นป. ชิ้นผ้า (ที่ตัดด้วยศัสตรา)
  31. นมติ : ก. นอบน้อม, ก้มกราบ, ไหว้
  32. นมนา : อิต. การน้อมไป
  33. นโม : (อัพ. นิบาต) ไหว้. ลงในอรรถ ปฐมา ทุติยาวิภัติ รูปฯ และอภิฯ.
  34. นิม : ป. หลัก, เสา; หลักปักสำหรับวัดหรือทำเครื่องหมายในการสร้างบ้านเรือน
  35. นิมิ : (ปุ.) พระเจ้านิมิราช วิ. สุคติ เนติ ปาเปตีติ นิมิ นเย, มิ.
  36. เนมิ : อิต. กงรถ
  37. อนุนมติ : ก. น้อมลง, อ่อนน้อม
  38. อพฺภุนฺนมติ : ก.น้อมไป, ยืดออก, ผุดขึ้น, แยกออก
  39. อภินมติ : ก. ก้มลง, โค้ง, งอ
  40. อุจฺจาสยนมหาสยน : (นปุ.) ที่นอนสูงและที่ นอนใหญ่.
  41. อุนฺนม : ป. ที่สูง, ที่ดอน
  42. อุนฺนมติ : ก. ยืดขึ้น, สูงขึ้น; ถือตัว
  43. อุปนมติ : ก. น้อมเข้ามา, น้อมเข้าไป
  44. โอนมนุนฺนมนปกติก : (วิ.) มีอันยุบลงและ อันฟูขึ้นเป็นปกติ.
  45. ขีร : (นปุ.) น้ำนม, นม (น้ำที่รีดมาจากเต้านม), นมสด, กษีร, เกษียร. วิ. ขียติ ทุหเณนาติ ขรํ. ขี ขเย, อีโร, โร วา. นมที่รีดออกมา ใหม่ๆ เรียก ขีระ ขีระนั้นทิ้งไว้จนเปรี้ยว เรียก ทธิ ทธินั้นเจียวขึ้นเรียก ตักกะ ตักกะนั้นเจียวขึ้นเรียก นวนีตะ นวนีตะนั้น เจียวขึ้นเรียก สัปปิ. ส. กฺษีร.
  46. ปโยธร : (ปุ.) อวัยวะอันทรงไว้ซึ่งน้ำ, นม ( เนื้อที่งอกขึ้นเป็นเต้าที่หน้าอกของหญิง ) วิ. ปโย ขีรํ ธาเรตีติ ปโยธโร.
  47. กุจ : (ปุ.) นม (นมของหญิง) วิ. คจฺฉนฺเต กาเล กุจตีติ กุโจ. กุจฺ สงฺโกจเน, อ. เป็น นปุ. ก็มี. ส. กุจ.
  48. ถญฺญ : (นปุ.) นม (น้ำที่ออกจากเต้านม), น้ำนม, น้ำนมสด, นมสด, รสในถัน, รส เกิดจากถัน, น้ำนมอันเกิดจากเต้านม. วิ. ถนโต สมฺภุตํ ถญญ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ลง ย ปัจ. ลบ อ ที่ น และ ลบ ณฺ. ได้รูปเป็น ถนฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  49. ถน : (ปุ.) นม (อวัยวะสองเต้าที่หน้าอก สัตว์ บางชนิดมีหลายเต้า), เต้านม, ถัน. ตนุ วิตฺถาเร, อ, ตสฺส โถ. ถรฺ เทวสทฺเท วา, อ. เถนฺ โจริเย วา. อภิฯ และ ฏีกาอภิฯ.
  50. ทุยฺหติ : ก. (อันเขา) รีด (นม)
  51. [1-50] | 51-97

(0.0793 sec)