Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โน้ม , then นม, โน้ม .

Eng-Thai Lexitron Dict : โน้ม, more than 7 found, display 1-7
  1. bring around : (PHRV) ; โน้มน้าวให้เปลี่ยนความคิด ; Syn:bring round
  2. bring home to : (PHRV) ; โน้มน้าวให้เชื่อ ; Syn:come home to, drive home to, get home to
  3. bring over : (PHRV) ; โน้มน้าวให้เปลี่ยนความคิด ; Syn:bring round
  4. bring round : (PHRV) ; โน้มน้าวให้เปลี่ยนความคิด ; Syn:bring around, bring over, come around, come over, fetch over
  5. Eng-Thai Lexitron Dict : โน้ม, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : โน้ม, more than 7 found, display 1-7
  1. โน้ม : (V) ; bend ; Related:draw, pull down, bow ; Syn:เหนี่ยว ; Def:เหนี่ยวให้โค้งต่ำลงมา ; Samp:เขาโน้มกิ่งไม้ลงมา
  2. โน้มน้าวใจ : (V) ; persuade ; Related:convince, induce, prevail ; Syn:ชักชวน, โน้มน้าว ; Def:ชักชวนให้เห็นดีเห็นงามหรือให้โอนอ่อนตาม ; Samp:เขาโน้มน้าวใจให้ผู้ชุมนุมอยู่ในความสงบได้อย่างไม่ยากเย็น
  3. โน้มตัว : (V) ; bend down ; Related:stoop, crook, curve ; Syn:น้อมตัว, ก้มตัว ; Ant:ยืดตัว ; Def:ค้อมตัวต่ำลง ; Samp:เราให้ผู้ป่วยโน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย แล้วยืดแขนออกช้าๆ
  4. โน้มน้าว : (V) ; persuade ; Related:induce, influence, convince, incite, prevail upon, talk into ; Syn:ชักชวน, หว่านล้อม ; Def:ชักชวนให้เห็นดีเห็นงามหรือโอนอ่อนตาม ; Samp:ศิลปินเพลงคนนี้สามารถโน้มน้าวเข้าถึงจิตใจแฟนเพลงได้ดีเยี่ยม
  5. โน้มเอียง : (V) ; tend ; Related:incline ; Syn:โอนอ่อน, โอนเอียง, เอนเอียง ; Samp:คนส่วนใหญ่จะมีลักษณะเกิดขึ้นทั้งสองอย่าง คือ บางครั้งก็โน้มเอียงไปในทางเก็บตัว บางครั้งก็แสดงตัว
  6. โน้มถ่วง : (V) ; have gravitation ; Related:have force of gravity ; Def:แรงที่ดึงดูดซึ่งกันและกันของเอกภพ
  7. ความโน้มถ่วง : (N) ; gravitation ; Syn:แรงโน้มถ่วง ; Def:กิริยาที่แรงดึงดูดของโลกกระทำต่อเทหวัตถุ ; Samp:นอกจากต้องการให้เครื่องบินทนแรงพายุได้แล้วยังต้องทนความโน้มถ่วงในการบินผาดโผนฉวัดเฉวียน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : โน้ม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : โน้ม, more than 5 found, display 1-5
  1. โน้ม : ว. เหนี่ยวให้โค้งตํ่าลงมา เช่น โน้มกิ่ง, น้อม หรือ ค้อมตํ่าลง เช่น รวงข้าวโน้มลง.
  2. โน้มน้าว : ก. ชักชวนให้เห็นดีเห็นงามหรือให้โอนอ่อนตาม.
  3. ลำอุด : ก. อ่อนน้อม, โน้ม, น้อม. (ข. ลํอุต).
  4. โอน : ก. น้อมลง, โน้ม; ยกไปไว้อีกที่หนึ่ง เช่น โอนบัญชี; ยอมมอบให้; ย้ายสังกัด; (กฎ) ทําให้สิทธิตกไปเป็นของบุคคลอื่น เช่น โอนกรรมสิทธิ์.
  5. ความโน้มถ่วง : น. กิริยาที่แรงดึงดูดของโลกกระทําต่อเทหวัตถุ. (อ. gravitation).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : โน้ม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : โน้ม, 10 found, display 1-10
  1. นานาธิมุตติกญาณ : ปรีชาหยั่งรู้อัธยาศัยของสัตว์ ที่โน้มเอียง เชื่อถือ สนใจ พอใจต่างๆ กัน (ข้อ ๕ ในทศพลญาณ)
  2. อธิมุตติ : อัธยาศัย, ความโน้มเอียง, ความคิดมุ่งไป, ความมุ่งหมาย
  3. ทธิ : นมส้ม, นมเปรี้ยว
  4. จิตตมุทุตา : ความอ่อนแห่งจิต, ธรรมชาติทำจิตให้นมนวลอ่อนละมุน (ข้อ ๑๓ ในโสภณเจตสิก ๒๕)
  5. เบญจโครส : โครส (รสแห่งโค หรือ รสเกิดแต่โค คือ ผลผลิตจากนมโค) ๕ อย่าง ได้แก่ นมสด (ขีระ) นมส้ม (ทธิ) เปรียง (ตักกะ) เนยใส (สัปปิ) เนยข้น (นวนีตะ)
  6. ปายาส : ข้าวสุกที่หุงด้วยนมโค นางสุชาดาถวายแก่พระมหาบุรุษในเวลสเช้าของวันที่พระองค์จะได้ตรัสรู้
  7. โภชนะอันประณีต : เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ปลา เนื้อ นมสด นมส้ม
  8. วิภัตติ : ชื่อวิธีไวยากรณ์ภาษาบาลีและสันสฤกต สำหรับแจกศัพท์โดยเปลี่ยนท้ายคำให้มีรูปต่างๆ กันเพื่อบอกการก ท้ายคำให้มีรูปต่างๆ กันเพื่อบอกการกและกาลเป็นต้น เช่นคำนาม โลโก ว่า โลก, โลกํ ซึ่งโลก, โลกา จากโลก, โลเก ในโลก; คำกิริยา เช่น นมติ ย่อมน้อม, นมตุ จงน้อม, นมิ น้อมแล้ว เป็นต้น
  9. ศีล ๑๐ : สำหรับสามเณร แต่ผู้ใดศรัทธาจะรักษาก็ได้ หัวข้อเหมือนศีล ๘ แต่แยกข้อ ๗ เป็น ๒ ข้อ (= ๗-๘) เลื่อนข้อ ๘ เป็น ๙ และเติมข้อ ๑๐ คือ ๗.เว้นจากฟ้อนรำ ขับร้อง ฯลฯ ๘.เว้นจากการทัดทรงดอกไม้ ฯลฯ ๙.เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่ ฯลฯ ๑๐.เว้นจากการรับทองและเงิน; คำสมาทาน (เฉพาะที่ต่าง) ว่า ๗.นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา- ๘.มาลาคนฺธวิเลปน ธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา- ๙.อุจฺจาสยนมหาสยนา- ๑๐.ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณา- (คำต่อท้าย เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยมิ เหมือนกันทุกข้อ); ดู อาราธนาศีล ด้วย
  10. ศีล ๘ : สำหรับฝึกตนให้ยิ่งขึ้นไปโดยรักษาในบางโอกาส หรือมีศรัทธาจะรักษาประจำก็ได้ เช่น แม่ชีมักรักษาประจำ หัวข้อเหมือนศีล ๕ แต่เปลี่ยนข้อ ๓ และเติมข้อ ๖-๗-๘ คือ ๓.เว้นจากประพฤติผิดพรหมจรรย์ คือเว้นจากร่วมประเวณี ๖.เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล คือเที่ยงแล้วไป ๗.เว้นจากฟ้อนรำ ขับร้อง บรรเลงดนตรี ดูการเล่นอันเป็นข้าศึกต่อพรหมจรรย์ การทัดทรงดอกไม้ ของหอม และเคลื่องลูบไล้ซึ่งใช้เป็นเครื่องประดับตกแต่ง ๘.เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่ หรูหราฟุ่มเฟือย; คำสมาทาน (เฉพาะที่ต่างจากศีล ๕) ว่า ๓.อพฺรหฺมจริยา- ๖.วิกาลโภชนา- ๗.นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา- ๘.อุจฺจาสยนมหาสยนา- (คำต่อท้ายเหมือนข้อ ๑ ในศีล ๕); ดู อาราธนาศีล ด้วย

ETipitaka Pali-Thai Dict : โน้ม, more than 5 found, display 1-5
  1. นม : (นปุ.) การน้อม.การนอบน้อม,การเคารพ,การไหว้,การกราบไหว้,ความน้อม,ฯลฯ.นมฺนมุนมเน.อ.ยุ.
  2. อานมนา : อิต. การน้อมไป, การโน้มไป
  3. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  4. นติ : อิต. การก้ม, การน้อม,การเอียง, การโค้ง, การโน้มลง
  5. นานาธิมุตฺติกตา : อิต. ความเป็นต่างๆ กันแห่งอัธยาศัย, ความต่างๆ กันแห่งความโน้มเอียง
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : โน้ม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : โน้ม, 8 found, display 1-8
  1. การก้ม, โน้ม : อวนติ [อิ.]; โอณมนํ, โอนมนํ [นป.]
  2. นม (น้ำ) : ขีรํ, ถญฺญํ
  3. นมส้ม : ทธิ
  4. เต้านม : ถนํ
  5. เต้านม, ถัน : ถโน, กุโจ, ปโยธโร
  6. ยืนให้ลูกดื่มนม : ปุตฺตํ ปายมานา ฐิตา
  7. กงเกวียน : เนมิ
  8. ก้มลง, โค้ง : อภินโต [กิต.]; อภินมติ [ก.]; โอณมติ [ก.]

(0.1316 sec)