Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ใจเสีย .

Eng-Thai Lexitron Dict : ใจเสีย, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : ใจเสีย, 5 found, display 1-5
  1. ใจเสีย : (V) ; be frightened ; Related:be dejected, be disheartened, be discouraged, be dispirited, lose heart ; Syn:หวาดหวั่น, ใจไม่ดี ; Def:มีใจไม่ดีเพราะกลัวหรือวิตกกังวล, หมดกำลังใจ ; Samp:หมอไม่กล้าบอกว่าเขาป่วยหนักด้วยเกรงว่าคนไข้จะใจเสีย
  2. ใจไม่ดี : (V) ; be anxious ; Related:be fearful, be worried, get alarmed, be nervous, be thrown into a flutter ; Syn:ใจเสีย, ใจแป้ว, ใจฝ่อ, ไม่สบายใจ ; Def:ใจเสียเพราะกลัวหรือวิตกกังวล, รู้สึกหวาดหวั่น ; Samp:เธอใจไม่ดีที่เห็นเขาเพลี่ยงพล้ำคู่ต่อสู้
  3. กลับตัวกลับใจ : (V) ; turn over a new leaf ; Related:reform oneself ; Syn:กลับใจ, กลับเนื้อกลับตัว ; Def:กลับใจละความชั่ว ; Samp:ผู้รับผิดชอบบำบัดยาเสพติดแก่เขาต่างให้กำลังใจและแนะนำตักเตือนให้เขากลับตัวกลับใจเสียใหม่
  4. จดจ้อง : (V) ; be irresolute ; Related:be uncertain, be unsure, hesitate ; Syn:จดๆ จ้องๆ, ลังเลใจ, ไม่แน่ใจ ; Ant:แน่ใจ, มั่นใจ ; Def:ตั้งใจจะทำแล้วไม่ลงมือทำเพราะไม่แน่ใจ ; Samp:มัวแต่จดจ้องหนังสืออยู่นั่นแหล่ะ จะซื้อหรือไม่ซื้อก็ตัดสินใจเสียทีสิ
  5. แพ้ใจ : (V) ; admit defeat ; Related:surrender, give up ; Syn:ถอดใจ, ใจไม่สู้, ยอมแพ้ ; Def:ใจไม่สู้ ; Samp:คนเราถ้าแพ้ใจเสียตั้งแต่ยกแรกก็ไม่สามารถเอาชนะอุปสรรคได้

Royal Institute Thai-Thai Dict : ใจเสีย, 4 found, display 1-4
  1. ใจเสีย : ว. มีใจไม่ดีเพราะกลัวหรือวิตกกังวล, หมดกําลังใจ.
  2. ขวัญ : [ขฺวัน] น. ผมหรือขนที่ขึ้นเวียนเป็นก้นหอย; มิ่งมงคล, สิริ, ความดี, เช่น ขวัญข้าว ขวัญเรือน; สิ่งที่ไม่มีตัวตน เชื่อกันว่ามีอยู่ประจําชีวิตของคน ตั้งแต่เกิดมา ถ้าขวัญอยู่กับตัวก็เป็นสิริมงคล เป็นสุขสบายจิตใจมั่นคง ถ้าคนตกใจหรือเสียขวัญ ขวัญก็ออกจากร่างไป ซึ่งเรียกว่า ขวัญหาย ขวัญหนี ขวัญบิน เป็นต้น ทําให้คนนั้นได้รับผลร้ายต่าง ๆ, เรียกผู้ตกใจ ง่ายคือ เด็กหรือหญิงซึ่งมักจะขวัญหายบ่อย ๆ ว่า ขวัญอ่อน, และอนุโลม ใช้ไปถึงสัตว์หรือสิ่งของบางอย่าง เช่น ช้าง ม้า ข้าว เรือน ฯลฯ ว่ามีขวัญ เช่นเดียวกับคนเหมือนกัน, โดยปริยายหมายความว่า ยอดกำลังใจเช่น ขวัญเมือง ว่า ยอดกําลังใจของเมือง; กําลังใจดี เช่น ขวัญดี; ผู้รู้พิธีทําขวัญ เรียกว่า หมอขวัญ; การทําพิธีเชิญขวัญหมายความว่า เรียกขวัญ มาอยู่กับตัว; การเสียเงินค่าปรับให้แก่ผู้ถูกทําร้ายหรือถูกหมิ่นประมาท เรียกว่า ทำขวัญ; เอาเส้นด้ายผูกข้อมือเด็กแล้วกล่าวเรียก ขวัญว่า ``ขวัญเอ๋ย มาอยู่กับเนื้อกับตัว'' แล้วกล่าวให้พรต่อไปตามควร เรียกว่า ผูกขวัญ; เรียกขวัญหรือเชิญขวัญ เรียกว่า รับขวัญ; ทําพิธี เช่น รดนํ้ามนตร์ให้ เสกเป่าให้ หรือกล่าวปลุกใจต่าง ๆ เพื่อให้ขวัญดีมีใจกล้าหาญ เรียกว่า บำรุงขวัญ; สิ่งของที่ให้แก่เจ้าของขวัญ เมื่อเสร็จพิธีทําขวัญแล้ว หรือสิ่งของที่ให้กันในเวลาอื่นเป็นการถนอมขวัญ หรือเพื่ออัธยาศัยไมตรี เรียกว่า ของขวัญ; ข้าวบายศรี เรียกว่า ข้าวขวัญ; ไข่ปอกที่เสียบไม้ปักไว้บนยอดบายศรี เรียกว่า ไข่ขวัญ, ไข่ข้าว ก็เรียก; ลูกคนที่รักมากที่สุด เรียกว่า ลูกขวัญ; ผู้ที่เป็นมิ่งขวัญอย่างยอดเยี่ยมหมายถึง หญิงที่รัก เรียกว่า จอมขวัญ; คำยกย่องเรียกภรรยาอันเป็นที่รักว่า เมียขวัญ; กําลังใจเสีย เรียกว่า เสียขวัญ.
  3. ใจไม่ดี : ว. ใจเสียเพราะกลัวหรือวิตกกังวล.
  4. รี ๆ, รอ ๆ : ว. แสดงอาการลังเลใจ, ไม่แน่ใจที่จะทําลงไป, เช่น มัวรี ๆ รอ ๆ อยู่นั่นแหละ เมื่อไรจะตัดสินใจเสียที.

Budhism Thai-Thai Dict : ใจเสีย, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : ใจเสีย, not found

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ใจเสีย, not found

(0.0489 sec)