Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ไพเราะ , then พรา, ไพเราะ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ไพเราะ, more than 7 found, display 1-7
  1. melodic : (ADJ) ; ไพเราะ ; Syn:sweet-sounding, harmonious
  2. musical : (ADJ) ; ไพเราะ ; Related:เพราะพริ้ง, เสนาะหู ; Syn:harmonious, tuneful, sweet, pleasing ; Ant:tuneles, harsh
  3. coloratura : (N) ; ่การร้องเพลงด้วยเสียงอันไพเราะ
  4. euphony : (N) ; เสียงที่ไพเราะ ; Related:เสียงที่รื่นหู
  5. mellifluousness : (N) ; การพูดจาไพเราะ ; Syn:eloquence, euphony
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : ไพเราะ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ไพเราะ, more than 7 found, display 1-7
  1. ไพเราะ : (ADV) ; beautifully (for something heard or read) ; Related:sweetly, pleasingly (for something heard or read) ; Syn:เพราะ, เสนาะ ; Samp:นอกจากเธอจะมีหน้าตาสวยแล้ว ยังพูดจาไพเราะอีกด้วย
  2. ไพเราะ : (ADJ) ; melodious ; Related:sweet, sweet-sounding, tuneful ; Syn:เพราะ, เสนาะ ; Samp:นักวิจัยพบว่าถ้าเปิดเพลงไพเราะให้ผู้ที่ทำงานฟัง จะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  3. มัญชุ : (ADJ) ; melodious ; Related:sweet-sounding ; Syn:ไพเราะ
  4. มัญชุ : (ADJ) ; melodious ; Related:sweet-sounding ; Syn:ไพเราะ
  5. หยดย้อย : (ADJ) ; exquisite ; Related:sweet, delicate ; Syn:ไพเราะ ; Samp:นางในรูปภาพที่สวยสดหยดย้อยเหล่านั้นคงเป็นนางฟ้าแน่
  6. ความไพเราะ : (N) ; melodiousness ; Related:sweetness, sonorousness, tunefulness ; Syn:ความเพราะ, ความไพเราะเสนาะหู, ความไพเราะเพราะพริ้ง ; Samp:ละครดึกดำบรรพ์เป็นละครที่เน้นความไพเราะของเพลงเป็นสำคัญ
  7. สุนทร : (ADJ) ; sweet ; Related:pleasant, delightful ; Syn:ไพเราะ, เพราะ, เสนาะ ; Def:ที่มีความไพเราะรื่นหู
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ไพเราะ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ไพเราะ, more than 5 found, display 1-5
  1. ไพเราะ : ว. เพราะ, เสนาะ, น่าฟัง. (แผลงมาจาก พิเราะ).
  2. โกมล ๑ : ว. อ่อน, งาม, หวาน, ไพเราะ, เช่น กรรณาคือกลีบกมลโก- มลกามแกล้งผจง. (สมุทรโฆษ). (ป., ส.).
  3. เพราะ ๑ : ว. น่าฟัง, เสนาะ, ไพเราะ, เช่น เสียงเพราะ พูดเพราะ.
  4. สรเหนาะ, สระเหนาะ : [สฺระเหฺนาะ] (กลอน) ว. เสนาะ, ไพเราะ; วังเวงใจ, เศร้าใจ, เช่น สรเหนาะนิราษน้อง ลงเรือ. (โคลงกำสรวล), สระเหนาะน้ำคว่วงคว้วง ควิวแด. (โคลงกำสรวล). (ข. สฺรโณะ ว่า นึกสังเวช สงสารวังเวงใจ อาลัยถึง).
  5. ตระสัก : [ตฺระ-] (กลอน) ว. งามสง่า; ไพเราะ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ไพเราะ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ไพเราะ, 9 found, display 1-9
  1. สุนทร : ดี, งาม, ไพเราะ
  2. กายิกสุข : สุขทางกาย เช่น ได้ยินเสียงไพเราะ ลิ้มรสอร่อย ถูกต้องสิ่งที่อ่อนนุ่ม เป็นต้น
  3. โฆสัปปมาณิกา : คนพวกที่ถือเสียงเป็นประมาณ, คนที่นิยมเสียง เกิดความเลื่อมใสศรัทธาเพราะเสียง ชอบฟังเสียงไพเราะ เช่น เสียงสวดสรภัญญะ เทศน์มหาชาติเป็นทำนอง เสียงประโคม เป็นต้น; อีกนัยหนึ่งว่า ผู้ถือชื่อเสียงกิตติศัพท์ หรือความโด่งดังเป็นประมาณ เห็นใครมีชื่อเสียงก็ตื่นไปตาม
  4. ดนตรี : ลำดับเสียงไพเราะ
  5. ลกุณฏก ภัททิยะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรในตระกูลมั่งคั่ง ชาวพระนครสาวัตถี ได้ฟังพระธรรมเทศนาของพระศาสดาที่พระเชตวันมีความเลื่อมใสจึงบวชในพระพุทธศาสนา ท่านมีรูปร่างเตี้ยค่อมจนบางคนเห็นท่านแล้วหัวเราะจนเห็นฟัน ท่านกำหนดฟันนั้นเป็นอารมณ์กรรมฐาน ได้สำเร็จอนาคามิผล ต่อมาท่านได้บรรลุพระอรหัตในสำนักพระสารีบุตร แต่เพราะความที่มีรูปร่างเล็กเตี้ยค่อม ท่านมักถูกเข้าใจผิดเป็นสามเณรบ้าง ถูกพระหนุ่มเณรน้อยล้อเลียนบ้าง ถูกเพื่อนพระดูแคลนบ้าง แต่พระพุทธเจ้ากลับตรัสยกย่องว่าถึงท่านจะร่างเล็ก แต่มีคุณธรรมฤทธานุภาพมาก ท่านได้รับยกย่องเป็นเอตทัคคะในทางมีเสียงไพเราะ
  6. สวากขาตธรรม : พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสดีแล้ว คือ ตรัสได้จริงไม่วิปริต ไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลางและที่สุด
  7. สิลิฏฐพจน์ : คำสละสลวย, คำไพเราะ, ได้แก่คำควบกับอีกคำหนึ่งเพื่อให้ฟังไพเราะในภาษา หาได้มีใจความพิเศษออกไปไม่ เช่น คำว่าคณะสงฆ์ คณะก็คือสงฆ์ซึ่งแปลว่าหมู่ หมายถึงหมู่แห่งภิกษุจำนวนหนึ่ง “คณะ” คำนี้เรียกว่าเป็นสิลิฏฐพจน์ ในภาษาไทยเรียกว่าคำติดปาก ไม่ได้เพ่งเนื้อความ
  8. สุนทรพจน์ : คำพูดที่ไพเราะ, คำพูดที่ดี; คำพูดอันเป็นพิธีการ, คำกล่าวแสดงความรู้สึกที่ดีอย่างเป็นพิธีการในที่ประชุม
  9. โสณกุฏิกัณณะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรของอุบาสิกาชื่อกาฬี ซึ่งเป็นพระโสดาบัน เกิดที่บ้านเดิมของมารดาในเมืองราชคฤห์ แล้วกลับไปอยู่ในตระกูลบิดาที่แคว้นอวันตี ทักขิณาบถ พระมหากัจจายนะให้บรรพชาเป็นสามเณรแล้วรอต่อมาอีก ๓ ปี เมื่อท่านหาภิกษุได้ครบ ๑๐ รูปแล้วจึงให้อุปสมบทเป็นภิกษุ บวชแล้วไม่นานก็สำเร็จพระอรหัต ต่อมาท่านได้เดินทางมาเฝ้าพระศาสดาที่เมืองสาวัตถี พร้อมทั้งนำความที่พระอุปัชฌาย์สั่งมากราบทูลขอพระพุทธานุญาตพิเศษสำหรับปัจจันตชนบท เช่น ให้สงฆ์มีภิกษุ ๕ รูปให้อุปสมบทได้ ให้ใช้รองเท้าหนาหลายชั้นได้ ให้อาบน้ำได้ตลอดทุกเวลา เป็นต้น ท่านแสดงธรรมมีเสียงไพเราะแจ่มใสชัดเจนจึงได้รับย่องย่องจากพระศาสดาว่า เป็นเอตทัคคะในทางกล่าวกัลยาณพจน์

ETipitaka Pali-Thai Dict : ไพเราะ, more than 5 found, display 1-5
  1. กลฺยาณ : (วิ.) ดี. งาม, พะงา (งาม, สวย), เป็น ที่ชอบใจ, ชอบ, ไพเราะ, อ่อนหวาน. กลฺ สํขยาเณ, ยาโณ. ส. กลฺยาณ.
  2. โกมล : (วิ.) อ่อน, ละเอียด, งาม, น่าฟัง, ไพเราะ, หวาน, เรียบ, สุภาพ. กุ สทฺเท, อโล, มฺ อาคโม. ส. โกมล.
  3. มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
  4. มธุ : (วิ.) หวาน, อร่อย, อันพึงใจ, เป็นที่รัก, ไพเราะ, ดี.
  5. มธุร : (วิ.) หวาน, อร่อย, ไพเราะ, งาม, มีน้ำผึ้ง, มีน้ำหวาน, มีรสหวาน. วิ. มธุ อสฺส อตฺถีติ มธุโร. มธุ อสฺมึ วิชฺชตีติ วา มธุ-โร. มธุ+ร ปัจ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ไพเราะ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ไพเราะ, 3 found, display 1-3
  1. ไพเราะ : มธุรวาจา, วคฺคุคฺท
  2. มีวาจาไพเราะ : มธุรวาจา, วคฺคุคฺท
  3. วาจาไพเราะ : มธุรวาจา, วิสฏ

(0.1429 sec)