Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ฟ้องร้อง, ร้อง, ฟ้อง , then ฟอง, ฟ้อง, ฟ้องร้อง, รอง, ร้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ฟ้องร้อง, 210 found, display 101-150
  1. วิสฺสร : ค. ร้องด้วยความระทมใจ
  2. สงฺฆุฏฺฐ : กิต. ป่าวร้องแล้ว, ประกาศแล้ว
  3. สงฺโฆเสติ : ก. ป่าวร้อง, ประกาศ
  4. สญฺญต : ค. ซึ่งร้องเรียกกัน, ตั้งชื่อ
  5. สนฺทพฺภ : (วิ.) ร้องดัง, ร้องลั่น, สํปุพฺโพ, ทภิ สทฺเท, อ.
  6. สมฺมุติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ การตกลงกัน, การแต่งตั้ง, การร้องเรียก, การยอมรับ, สํปุพฺโพ, มนฺโพธเน, ติ, นฺโลโป, อสฺสุตฺตํ. ไทย สมมต สมมติ สมมุติ ออกเสียงว่า สมมต สมมคติ สมมุด สมมุคติ ใช้เป็นกิริยาในอรรถว่าตกลงกันว่า ยินยอมกันว่า แต่งตั้ง ใช้เป็นวิเสสนะว่าที่ยอมรับตกลงกัน ใช้เป็นสันธานว่า ต่างว่า.
  7. สมุทาหรณ : นป. การร้องเรียก, การเปล่ง
  8. สมุทาหรติ : ก. ร้องเรียก, เปล่ง
  9. สราว : ป. การร้อง; เสียง
  10. เสลน : (นปุ.) เสียง, เสียงโห่ร้องของนักรบ (โยธสีหนาท). สีลฺ อุปธารเณ อุจฺเจ วา. ยุ. แปลง อี เป็น เอ. การร้องแสดงความยินดี ก็แปล.
  11. หว : (ปุ.) การเรียก, การร้องเรียก. หู อวฺหาเน, โณ. หฺว อวฺหาเน วา, อ. ส. หว.
  12. เหสา : (อิต.) เหสา (ฮี้) เสียงร้องของม้า วิ. เหสนํ เหสา. เหสฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ, อิตฺถิยํ อา. เห อิติ เสติ ปวตฺตตีติ วา เหสา. เส คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. เหษา.
  13. อจฺจติ : ก. ร้องเพลง, สรรเสริญบูชา
  14. อนุคายติ : ก. สวดตาม, สาธยาย, ขับร้อง, สรรเสริญ
  15. อนุรว : ป. เสียงกังวาน, เสียงระงม, ร้องคราง
  16. อนุรวติ : ก. ก้องกังวาน, ร้องระงม, ร้องคราง
  17. อนุรวนา : อิต. การร้องระงม, การส่งเสียงกังวาน, การร้องคราง
  18. อพฺยตฺตสทฺท : (วิ.) ร้อง, บันลือ, แผดเสียง.
  19. อภิกูชติ : ก. ร้องก้อง, ขัน, ขันคู, เห่า
  20. อภิกูชน : นป. การร้องก้อง, การขัน, การขันคู, การเห่า
  21. อภิคชฺชติ : ก. ร้องแผดเสียง, ตะโกน, คำราม
  22. อภิคชฺชี : ค. ซึ่งส่งเสียง, ซึ่งร้อง, ซึ่งจู๋จี๋
  23. อภิคีต : กิต. ร้องแล้ว, ขับแล้ว
  24. อภิคุฏฺฐ : กิต. ร้องแล้ว, ป่าวประกาศแล้ว
  25. อภิตฺถนติ, - นยติ, - เนติ : ก. คำรามร้อง, แผดเสียง, กระหึ่ม
  26. อภินิกูชิต : ค. ร้องก้อง, เห่าก้องแล้ว
  27. อภิรวติ : ก. ร้องตะโกน, ส่งเสียงลั่น, ร่ำร้อง
  28. อภิรุต : นป. เสียง, เสียงร้อง
  29. อภิรุท : ค. ร้องระงม, ร้องกึกก้อง
  30. อภิลาป : (ปุ.) การร้องเรียก, คำร้องเรียก, ถ้อยคำ.
  31. อภิสสนา : อิต. เสียงร้อง (ของม้า)
  32. อภิหึสนา : อิต. เสียงร้องของม้า
  33. อวสฺสน : นป. ไม่ใช่เสียงร้อง, (ของแกะ)
  34. อวฺหาณอวฺหาน : (วิ.) เรียก, ร้องเรียก, คร่ำครวญ.ยุปัจ.
  35. อวฺหาต : กิต. เรียกแล้ว, ร้องเรียกแล้ว
  36. อวฺหาน : นป. ชื่อ, การร้องเรียก, การขานชื่อ
  37. อานทติ : ก. ร้อง, แผดเสียง, ร้องแปร๋แปร๋น
  38. อามนฺต : ค. ถูกร้องเรียก, ถูกถามหา, ได้รับเชิญ
  39. อามนฺตน : (นปุ.) การเรียก, การร้องเรียก, การเชิญ, การเชื้อเชิญ, การบอกโดยการทำต่อหน้า, การบอกต่อหน้า.วิ.อภิมุขํกตฺวามนฺตนํอามนฺตนํ.ลบภิมุขเหลืออแล้วทีฆะ.
  40. อามนฺตนก : ค. ผู้ร้องเรียก, ผู้เชื้อเชิญ, ผู้ปรึกษา
  41. อามนฺเตติ : ก. เรียก, ร้องเรียก, เชื้อเชิญ; ปรึกษา
  42. อาราว : ป. เสียงร้อง, เสียงครวญคราง
  43. อาลปติ : ก. เรียกร้อง, ทักทาย, สนทนา
  44. อาลปน : (นปุ.) การร้องเรียก, การบอกเล่า, การกล่าว, การพูด, การสนทนา, คำทัก, คำร้องเรียก, คำกล่าวโดยทำต่อหน้า, การกล่าวโดยทำต่อหน้า, วิ.อภิมุขํกตฺวาลปนํอาลปนํ.ส.อาลปน.
  45. อาลปนตา : อิต. การร้องเรียก, การทักทาย
  46. อาลปนา : อิต. การร้องเรียก, การวิงวอน
  47. อุปกูชติ, อุปกุชฺชติ : ก. ร้อง, ขัน, คู, ส่งเสียง
  48. อุปคายติ : ก. ร้องเพลง
  49. อุปนทติ : ก. ร้อง, บันลือ, แผดเสียง, แซ่ซ้อง, ร้องกึกก้อง
  50. อุปรวติ : ก. ร้อง, ตะโกน
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-210

(0.0433 sec)