Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเคารพ, เคารพ, ความ , then ความ, ความเคารพ, คารพ, เคารพ, เคารว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเคารพ, 3743 found, display 551-600
  1. จิตฺตมล : นป. มลทินแห่งจิต, ความหม่นหมองแห่งจิต
  2. จิตฺตมุทุตา : อิต. ความอ่อนโยนแห่งจิต
  3. จิตฺตลหุตา : อิต. ความเบาแห่งจิต
  4. จิตฺตวิกฺเขป : ป. ความฟุ้งซ่านแห่งจิต, ความวิกลจริต
  5. จิตฺตวิชฺชา : (อิต.) ความรู้ในเรื่องของจิต, วิชชา ว่าด้วยจิต, จิตตวิทยา, จิตวิทยา. วิ. จิตตฺวตฺถุมฺหิ วิชฺชา จิตฺตวิชฺชา.
  6. จิตฺตวิพฺภม : (ปุ.) การหมุนไปผิดของจิต, ความหมุนไปผิดของจิต, ความบ้า. วิ. จิตฺตสฺส วิพฺภโม จิตฺตวิพฺภโม.
  7. จิตฺตวูปสม : ป. ความเข้าไปสงบแห่งจิต, ความระงับแห่งจิต
  8. จิตฺตสงฺกิเลส : ป. ความเศร้าหมองแห่งจิต, จิตเศร้าหมอง
  9. จิตฺตสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งซึ่งจิต, ความปรุงแต่งแห่งจิต, สภาพผู้ปรุงแต่งจิต.
  10. จิตฺตสญฺญตฺติ : อิต. ความหมายรู้ด้วยใจ, มั่นใจ
  11. จิตฺตสณฺหตา : (อิต.) ความที่แห่งจิตเป็น ธรรม ชาตละเอียด.
  12. จิตฺตสนฺตาป : นป. ความเร่าร้อนแห่งจิต, ความโศกเศร้าทุกข์ใจ
  13. จิตฺตสมถ : ป. ความสงบแห่งจิต
  14. จิตฺตสมาธิ : ป. ความตั้งมั่นแห่งจิต, ความแน่วแน่แห่งจิต
  15. จิตฺตสโมธาน : นป. ความรวมลงพร้อมแห่งจิต, ความพร้อมเพรียงแห่งจิต, ความแน่วแน่แห่งจิต
  16. จิตฺตาธิปติ : ป. จิตตาธิบดี, ธรรมที่เป็นใหญ่คือจิต, ความเป็นใหญ่แห่งจิต
  17. จิตฺตานุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็นจิต, ความตามเห็นจิต (คือการใช้ปัญญาตรวจตราดู จิตของตนให้รู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ยึดมั่น ถือมั่น).
  18. จิตฺตาโภค : (ปุ.) ความคำนึงแห่งจิต, ความหวน คิดแห่งจิต, ความตั้งใจ. จิตฺต+อาโภค.
  19. จิตฺติการ, - ตีการ : ป. การทำความยำเกรง, การเคารพนับถือ, การยกย่อง, การให้เกียรติ
  20. จิตฺตุชฺชุกตา : อิต. ความซื่อตรงแห่งจิต, ความเป็นผู้มีจิตซื่อตรง
  21. จิตฺตุตฺราส : ป. ความสะดุ้งแห่งจิต, ความหวาดกลัว
  22. จิตฺตุปฺปาท : (ปุ.) การยังจิตให้เกิดขึ้น, การบัง เกิดขึ้นแห่งจิต. ความบังเกิดขึ้นแห่งจิต, ความบังเกิดขึ้นแห่งความคิด.
  23. จิตฺเตกคฺคตา : (อิต.) ความที่แห่งจิตเป็นจิตมี อารมณ์เป็นหนึ่ง, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท.
  24. จิติ : อิต. ความสั่งสม, ความสะสม; กอง, ก้อน
  25. จินฺตก, - ตนก : ค., นป. ผู้คิด, ผู้ดำริ, ผู้แต่ง; คนมีความคิด, คนมีความฝักใฝ่, ผู้คิดสร้าง, ผู้แต่ง
  26. จินฺตน : นป. จินฺตนา อิต. การคิด, การดำริ, ความนึกคิด, ความดำริ
  27. จินฺตนาการ : (ปุ.) คลองแห่งความคิด, อาการ คือความคิด, การสร้างภาพขึ้นในใจ วิ. จินฺตนายํ ภาวํ อุกาโร ( การทำขึ้น การ สร้างขึ้น ) จินฺตนากาโร.
  28. จินฺตา : (อิต.) ความนึก, ฯลฯ. วิ. จินฺตนํ จินฺตา. ปัญญาเป็นเครื่องคิด วิ. จินฺตนา จินฺตา. จินดา ไทยใช้ในความหมายว่า แก้วมีค่า.
  29. จินฺตากวิ : ป. จินตกวี, ผู้สามารถในการแต่งร้อยกรองตามแนวความคิดของตน
  30. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  31. จินฺตามย : ค. ซึ่งสำเร็จด้วยความคิด
  32. จินฺตี : ค. ผู้มีความคิด, ผู้มีความดำริ
  33. จีวร : (นปุ.) ผ้า วิ. จียตีติ จีวรํ. จิ จเย, อีวโร. ศัพท์จีวร นี้แปลว่าผ้า หมายถึงผ้าทุกชนิด ไทยนำคำจีวรมาใช้ออกเสียงว่า จีวอน ใช้ ในความหมาย ๒ อย่างคือหมายถึงผ้าของ ภิกษุทั้ง ๓ ผืน ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และ ผ้าสังฆาฏิ ได้ในคำว่า บาตรจีวร หรือไตร จีวรอย่าง ๑ หมายเอาเฉพาะผ้าห่มอย่าง เดียวได้ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ นี้อีก อย่าง ๑.
  34. จีวรปลิโพธ : (ปุ.) ความกังวลในจีวร, ความห่วงใยในจีวร.
  35. จีวรปวิเวก : นป. ความสงัดจากกิเลสเพราะจีวร
  36. จุณฺณียปท : (นปุ.) บทบาลีเล็กน้อย, จุณณียบท คือบทบาลีที่ยกขึ้นแสดงแต่เล็กน้อยก่อนที่ จะแสดงเนื้อความพิศดาร.
  37. จุติ : (อิต.) การเคลื่อน, การแตกดับ, การตาย, ความเคลื่อน, ฯลฯ. วิ. จวนํ จุติ. จุ จวเน, ติ. จุติ ไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย. ส. จฺยุติ.
  38. จุตูปปาตญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งจุติ และปฏิสนธิเครื่องเข้าไปตก, ญาณอันเป็น ไปด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งอันเคลื่อน และอันเข้าตก, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งอัน เคลื่อนและอันเข้าถึง, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่ง การจุติและการเกิด, ความรู้ในจากจุติและ การเกิด.
  39. จุนฺท : (ปุ.) ความรุ่งเรือง, จุนทะ ชื่อคน. จทิ ทิตฺติยํ, อ, อสฺสุ.
  40. เจตนก : ค. ซึ่งเนื่องด้วยเจตนา, มีความคิด, มีความตั้งใจ
  41. เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
  42. เจตส : (ปุ.) ใจ, ความคิด, ความนึก, ฯลฯ. จิตฺธาตุ ส ปัจ.
  43. เจตา : (อิต.) ความคิด, ความรู้, ความจงใจ, ความตั้งใจ.
  44. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  45. เจโตขิล, - ขีล : ป. ตะปูตรึงใจ, ความเคลือบแคลงดุจเสี้ยนแทงใจ, ความกระด้างแห่งจิตใจ, ความเสื่อมเสียทางใจ
  46. เจโตปณิธิ : ป. ความตั้งใจแน่วแน่, ความปักใจ, การตั้งจิตปรารถนา
  47. เจโตปโทส : ป. ความเสื่อมเสียแห่งใจ, ความมัวหมองแห่งจิต, ความชั่วทางใจ
  48. เจโตปริจฺจ : นป. ความยักเยื้องแห่งจิต, ความเป็นไปต่างๆ แห่งจิต, สภาพของจิต, อุปนิสัย
  49. เจโตปริยญาณ : นป. ญาณกำหนดรู้แห่งจิตใจ (ของผู้อื่น), ความรู้จักทายใจคน
  50. เจโตปริยาย : (ปุ.) การกำหนดใจ, การกำหนด วาระจิต (คือช่วงของความคิด).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3743

(0.1595 sec)