Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นหนี้, เป็น, หนี้ , then ปน, ปนหน, เป็น, เป็นหนี้, หน, หนี้ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นหนี้, 4489 found, display 2001-2050
  1. ตุลาคม : (ปุ.) ตุลาคม ชื่อเดือนที่ ๗ ตาม สุริยคติ นับเมษายนเป็นต้นปี ถ้านับ มกราคม เป็นต้นปี ก็เป็นเดือนที่ ๑๐.
  2. ตุวฏ : (วิ.) รีบ, เร็ว, รวดเร็ว, พลัน, ด่วน. วิ. ตุริตภาวเน วฏฺฏตีติ ตุวฏํ. ตุริตปุพฺโพ. วฏฺฏฺอาวตฺตเน, อ, ริตโลโป, สํโยคโลโป จ. อภิฯ ตั้ง ตุวฏฺฏ ธาตุ ในความนอน ด้วย?เป็น ตุวฏฏ โดยไม่ลบ สังโยคบ้าง.
  3. เตจีวริก : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งไตรจีวรเป็นวัตร. โมคฯ ณาทิกัณฆ์ ๗๒ วิ. ติจีวรธารณํ สีลมสฺสาติ เตจีวริโก (ภิกฺขุ). รูปฯ ๓๖๐ วิ. ติจีวรธารณํ ตีจีวรํ. ตํ สีล มสฺสาติ เตจีวริโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  4. เตชกสิณ : นป. การเพ่งกรรมฐานมีไฟเป็นอารมณ์
  5. เตตฺตึส : (วิ.) (ที่) เป็นที่เกิดของเทวดาสาม สิบสององค์ วิ. เตตฺตึส เทวตา นิพฺพตฺตนฺติ เอตฺถาติ เตตฺตึส.
  6. เตภูมิก : ค. อันมีภูมิสาม, อันเป็นไปในภูมิสาม, มีสามขั้น
  7. เตภูมิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นไปในภูมิสาม.
  8. เตภูมิกวฏฺฏสขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่า วัฏฏะอันเป็นไปในภูมิสาม.
  9. เตมาสจตุมาสจฺจย : (วิ.) เป็นที่ไปล่วงแห่ง หมวดแห่งเดือนสามและหมวดแห่งเดือนสี่, สิ้นไปสามสี่เดือน.
  10. เตมิย : (ปุ.) พระเตมิยะ พระเตมีย์ พระนาม ของพระโพธิสัตว์ คือ อดีตชาติของพระ สมณโคดม เป็นชาติที่ ๑ ในทศชาติ.
  11. เตลนาฬิ : (อิต.) ทะนานแห่งน้ำมัน, น้ำมันมี ทะนานเป็นปริมาณ, น้ำมันมีทะนานหนึ่ง เป็นประมาณ.
  12. เตลิก : (วิ.) ระคนด้วยงา วิ. ติเลน สํสฏฺฐํ เตลิกํ. มีน้ำมันเป็นสินค้า. วิ. เตลํ อสฺส ภณฺฑนฺ เตลิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  13. เตลิย : ค. อันเป็นมัน, มีมันมาก
  14. : (ปุ.) ภูเขา, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง, ความต้านทานภัย, มงคล. อุ. ถตฺถํ วิหิต- ปณาโม ประณามอันข้าฯตั้งไว้แล้วเพื่อ ความเป็นมงคล. ถุ คติเถริเยสุ. อ. ส. ถ.
  15. ถริ : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, ตั้งมั่น, ยั่งยืน, แข็ง, แข็งแรง, คงที่. ฐา ถา วา คตินิวุตติยํ, อิโร. ถ้าตั้ง ฐา ธาตุ ก็แปลงเป็น ถา.
  16. ถรุ : (ปุ.) ด้าม เช่นด้ามกระบี่เป็นต้น วิ. ตรตีติ ถรุ. ตรฺ ตรเณ, อุ, ตสฺส โถ, อถวา, ถรฺ สตฺถคติยํ, อุ. ถรุ เป็นชื่อของอาวุธทั่วๆ ไปก็มี เพลงอาวุธ ก็แปล.
  17. ถาวเรยฺย : นป. ความเป็นผู้มั่นคง, ความเป็นเถระ
  18. ถูณ : (ปุ.) เสา, หลัก, หลักเป็นที่บูชายัญ. วิ. อภิตฺวียฺตีติ ถูโณ. ถุ ถู วา อภิตฺถเว, อูโณ. ธรฺ ธารเณ วา, ยุ, รฺโลโป, ธสฺส โถ, อสฺสุตฺตํ, ทีโฆ จ. ไม่ทีฆะเป็น ถุณ บ้าง.
  19. ถูปิกต, - ปึกต : ค. ซึ่งถูกทำให้เป็นยอด, ซึ่งพูนล้น (บาตร)
  20. ถูลตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของหนา, ความเป็นของหนา. ถูล+ตฺต ปัจ.
  21. เถยฺยจิตฺต : (นปุ.) จิตประกอบด้วยความเป็น แห่งขโมย, จิตประกอยด้วยความเป็น ขโมย, จิตเครื่องความเป็นขโมย, เถยยจิต ไถยจิต (จิตคิดจะลัก).
  22. เถยฺยเจตนา : (อิต.) ความตั้งใจประกอบด้วย ความเป็นแห่งขโมย. ฯลฯ, ความตั้งใจ ขโมย, เถยยเจตนา ไถยเจตนา (เจตนา ในการเป็นขโมย).
  23. เถยฺยสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมโดยความเป็น แห่งขโมย, การอยู่ร่วมโดยความเป็นขโมย, การลักเพศ (การแต่งตัวให้ผิดไปจาก เพศเดิม เช่น ปลอมบวชเป็นสมณะ).
  24. เถยฺยสวาสก : (ปุ.) คนลักเพศ. คนลักเพศ คือคนที่ปลอมบวชเป็นภิกษุหรือสามเณร หรือคนที่บวชเอาเอง หรือภิกษุสามเณร ที่ทำผิดวินัยถึงขาดจากความเป็นบรรชิต แต่ยังครองผ้ากาสาวพัตรอยู่.
  25. เถยฺยา : (อิต.) กิริยาแห่งความเป็นขโมย, เจตนาแห่งความเป็นขโมย.
  26. เถยฺยาวหาร : (ปุ.) อวหารแห่งความเป็นขโมย, อวหาร คือความเป็นขโมย วิ. เถยฺยํ เอว อวหาโร เถยฺยาวหาโร.
  27. เถรก : ค. (ผ้า) มีเนื้อหยาบ (บางแห่งเป็นเถวก, โจรก, หรือ โธรก )
  28. เถวติ : ก. ส่องแสง, เป็นประกายดุจหยาดน้ำ, สุกแดงเรื่อๆ
  29. ทกฺขตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาดสามารถ, ความชำนาญ, ความคล่องแคล่ว
  30. ทกฺขิณนิกาย : (ปุ.) นิกายฝ่ายใต้, ทักษิณ นิกายชื่อนิกายสงฆ์ฝ่ายใต้ ( เอาแคว้นมคธ ของชมพูทวีป ( อินเดีย ) เป็นศูนย์กลาง การนับ ) คือนิกายหินยาน ( หีนยาน ) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เถรวาท. ดู เถรวาท ด้วย.
  31. ทกฺขิณายน : (นปุ.) ทักขิณายน คือการที่พระ อาทิตย์เป็นไปสู่ทิศใต้ ( ตามสายตาของ ชาวโลก ) วิ. ทกฺขิณํ ทิสํ อยติ สุริโย เอตฺถาติ ทกฺขิณายนํ. ทกฺขิณาปุพฺโพ, อยฺ คติยํ, ยุ.
  32. ทกฺขิเณยฺยเขตฺต : นป. เนื้อนาบุญอันควรซึ่งทักษิณา, บุคคลผู้เป็นดุจเนี้อนาที่ควรนำไทยธรรมมาถวาย
  33. ทกฺขิเณยฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ควรซึ่งทักษิณา
  34. ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
  35. ทกฺเขยฺย : นป. ความเป็นผู้ฉลาดสามารถ, ความชำนาญ
  36. ทกาสย : ค. ผู้มีน้ำเป็นที่อาศัย; ผู้อาศัยอยู่ในน้ำ
  37. ทฏฺฐภาว : ป. ความเป็นผู้ถูกกัด
  38. ทณฺฑปรายน : ค. ผู้มีไม้เท้าเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, ผู้อาศัยไม้เท้าสำหรับยัน, ผู้ใช้ไม้เท้า
  39. ทณฺฑาทณฺฑิ : (นปุ.) การรบนี้ตีด้วยท่อนไม้ และตีด้วยท่อนไม้เป็นไป วิ. ทณฺเฑหิ จ ทณฺเฑหิ จ ปหริตฺวา อิทํ ยุทฺธํ ปวตฺตตีติ ทณฺฑาทณฺฑิ. ทีฆะในท่ามกลาง แปลง อ ที่สุดศัพท์เป็น อิ รูปฯ ๓๔๑.
  40. ทตฺติก, - ติย : ๑. ค. อันเขาให้, ซึ่งเป็นของที่เขาให้ (ใช้ในคำสมาส เช่น กุลทตฺติก, สกฺกทตฺติย, มหาราชทตฺติย เป็นต้น) ๒. นป. ของที่เขาให้, ของถวาย
  41. ทตฺติย : (วิ.) มีความเป็นของอัน... ให้แล้ว.
  42. ทนฺตตา : อิต. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  43. ทนฺตภาค : (ปุ.) กระพองช้าง ( ส่วนที่นูนเป็น ปุ่มสองข้างศีรษะช้าง). ตะพอง ก็เรียก.
  44. ทนฺตภาว : ป. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  45. ทนฺตวลย : นป. วลัยอันเป็นวิการแห่งงาช้าง, กำไลที่ทำด้วยงาช้าง
  46. ทนฺตสฏ : (ปุ.) สาย, สายบรรทัด ( แผ่ไปเป็น แนว).
  47. ทนฺตายุธ : (ปุ.) หมู ( มีฟันเป็นอาวุธ ). ส. ทนฺตายุธ.
  48. ทนฺตาวรณ : (นปุ.) ที่เป็นที่กั้นซึ่งฟัน, ริม ฝีปาก. วิ. ทนฺเต อาวรตีติ ทนฺตาวรณํ. ทนฺตปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, ยุ.
  49. ทนฺธตา : อิต. ความเป็นคนเฉื่อยชา, ความโง่เขลา
  50. ทนฺธายิตตฺต : นป. ความเป็นคนเขลา
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | [2001-2050] | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4489

(0.1400 sec)