Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ส่วนหลัง, หลัง, ส่วน , then สวน, ส่วน, สวนหลง, ส่วนหลัง, หลง, หลํ, หลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ส่วนหลัง, 765 found, display 401-450
  1. มนุสฺสเผคฺคุ : (ปุ.) มนุษย์กระพี้, คนกระพี้, คนที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม.
  2. มยฺหงฺก มยฺหก : (ปุ.) นกเขา. มยฺหํปพฺโพ, กุ สทฺเท, อ. ศัพท์หลังลบนิคคหิต.
  3. มริจ มริจฺจ : (นปุ.) พริก, พริกไทย, กระวาน. มรฺ ปาณจาเค, โจ, อิ อาคโม. ศัพท์หลังซ้อน จฺ.
  4. มริยาท : (ปุ.) อาจาระ, มรรยาท, มารยาท (กิริยาที่ถือว่าเรียบร้อย). กฏ. วิ. ปริจฺฉินฺทิตฺวา อาทียเตติ มริยาทา. ปริ อาปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อ. แปลง ป เป็น ม ยฺ อาคม. ศัพท์หลัง อา อิต. เป็น มาริยาทา ก็มี. ส. มรฺยาท.
  5. มลฺล มลฺลก : (ปุ.) คนปล้ำ, มวลปล้ำ, นักมวย. มถฺ วิโลฬเน, โล, ถสฺส ลาเทโส (แปลง ตฺ เป็น ลฺ). ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๖๔๒.
  6. มลิน มลีน : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, มัวหมอง, หม่นหมอง, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์, มีมลทิน. มลยุตฺตตาย มลิโน มลีโน วา. อัน ปัจ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  7. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  8. มาตงฺคมุทฺธปิณฺฑ : (ปุ.) น้ำเต้าแห่งช้าง ชื่อ อวัยวะส่วนนูนที่อยู่โคนงวงช้าง.
  9. มารเสนา : (อิต.) มารและเสนาแห่งมาร. มาร+มารเสนา ลบ มาร ศัพท์หลัง.
  10. มารุต มาลุต : (ปุ.) ลม วิ. อาหาโร วิย ปายา สภูโตปิ กทาจิ สตฺเต มาเรตีติ มารุโต มาลุโต วา. ศัพท์หลัง แปลง ร เป็น ล.
  11. มิคพฺพธ มิคพฺยธ : (ปุ.) คนฆ่าเนื้อ, พรานเนื้อ. มิคปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, อ. แปลง หน เป็น วธ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์หลัง ดู มิควฺยธ.
  12. มิสฺส มิสฺสก : (วิ.) แซม, เจือ, ปน, เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, ระคน, ระคนกัน, คลุกเคล้า. มิสฺ สมฺมิสฺเส, โส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  13. มุจลินฺท มุจฺจลินฺท : (ปุ.) ต้นจิก, ไม้จิก. จุลฺ นิมฺมชฺชเน, อินฺโท. เท๎วภาวะ จุ แปลงเป็น มุ ศัพท์หลังซ้อน จฺ หรือตั้ง มุจลฺ สงฺฆาเต.
  14. มุณฺฑ มุณฺฑก : (วิ.) เกลี้ยง, โล้น. มุฑิ ขณฺฑเน, อ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  15. มุลาล มุฬาล : (ปุ. นปุ.) รากเหง้า. วิ. มูเลชายตีติ มุลาโล มุฬาโล วา. มูล+อล ปัจ. รัสสะ. มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อโล, รสฺโส. มีลฺนิมีลเน วา, อโล. แปลง อี เป็น อุ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  16. เมขล : (นปุ.) สายรัดเอว, เครื่องประดับเอว, เครื่องประดับเอวสตรี, เข็มขัด, เข็มขัดหญิง, สังวาล ชื่อเครื่องประดับชนิดหนึ่ง ทำเป็นรูปสายสร้อย ใช้คล้องสะพายแล่ง. เมขฺ กฏิวิจิตฺเต, อโล. ศัพท์หลัง อา อิต.
  17. เมขลา : (อิต.) สายรัดเอว, เครื่องประดับเอว, เครื่องประดับเอวสตรี, เข็มขัด, เข็มขัดหญิง, สังวาล ชื่อเครื่องประดับชนิดหนึ่ง ทำเป็นรูปสายสร้อย ใช้คล้องสะพายแล่ง. เมขฺ กฏิวิจิตฺเต, อโล. ศัพท์หลัง อา อิต.
  18. เมท เมทก : (ปุ.) มัน, มันข้น, น้ำมันข้น. มิทฺ สิเนหเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  19. เยภุยฺยนย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไปมาก, นัยมาก, เยภุยยนัย เยภุยนัย (วิธีที่คนส่วนมากใช้).
  20. รชนี รชฺชนี : (อิต.) ค่ำ (เวลามืดตอนต้นของกลางคืน), เวลาค่ำ, เวลามืด, กลางคืน, ค่ำคืน, รัชนี. วิ. รญฺชนฺติ ราคิโน อตฺราติ รชนี. ยุ, อิตฺถยํ อี. ศัพท์หลังแปลง ช เป็น ชฺช.
  21. รถงฺค : นป. ส่วนของรถ
  22. รส : ป. รส, อายตนะส่วนหนึ่งเป็นวิสัยแห่งลิ้น; อาหารเหลว; มรรยาท; หน้าที่; สมบัติ;ปรอท
  23. ลการ : ป. เรือ, ส่วนของเรือ, จังกูด
  24. วิคฺคห : ป. การทะเลาะ, การโต้เถียง, การแยกออกเป็นส่วน ๆ, กาย, ตัว
  25. วิมุข : ค.ข้างหลัง; เพิกเฉย
  26. วิสุ : อ. คนละส่วน, เฉพาะ
  27. สนฺถาร สนฺถารก : (ปุ.) การลาด, การปู, การปูลาด, ที่รอง. ณ ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  28. สพฺพญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมหาส่วนเหลือมิได้, สรรเพชุดา (ออกเสียงว่าสันเพ็ดชุดา). วิ. สพฺพ ฺญฺญุตา. สพฺพ ฺญฺญู+ตาปัจ. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๗๑.
  29. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  30. สพฺพญฺญู : (ปุ.) พระสัพพัญญู พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง (พระผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนมิได้). วิ. สพฺพสงฺขตมสงฺตตํ อนวเสสํ ชานาตีติ สพฺพญฺญู. รู ปัจ. สรรพัชญ์ สรรเพชญ์สองคำนี้เขียนตามรูปสันสกฤต. ส. สรฺวชฺฌ.
  31. สพฺพธา สพฺพโส : (อัพ. นิบาต.) โดยส่วนทั้งปวง, โดยการจำแนกทั้งปวง, โดยอาการทั้งปวง, โดยประการทั้งปวง, โดยจำแนกโดยอาการทั้งปวง, โดยการจำแนกโดยประการทั้งปวง. สพฺพ+ธา, โสปัจวิภาคตัท.
  32. สภาค : (วิ.) เป็นไปกับด้วยส่วน. วิ. สห ภาเคน วตฺตตีติ สภาโค. ร่วมกัน, เท่ากัน, เข้ากันได้, อยู่พวกเดียวกัน, เหมือนกัน, มีส่วนเสมอ, มีส่วนเสมอกัน. วิ. สมาโน ภาโค เยสํ เต สภาคา.
  33. สมฺปหุล สมฺพหุล : (วิ.) เจริญ, นักหนา, หนักหนา, มาก, มากพร้อม, มากด้วยกัน, มากมาย. วิ. สํ ปโหตีติ สมฺปหุลํ สมฺพหุลํ วา. สํ ป ปุพฺโพ. หุ สตฺตายํ, โล. ศัพท์หลัง แปลง ป เป็น พ.
  34. สมภาคี : (วิ.) มีส่วนเสมอ, ฯลฯ. สม+ภาค+อี ปัจ. ตทัสสตถิตัท.
  35. สมาชิก : (ปุ.) บุคคลผู้เข้าประชุม, บุคคลผู้มาประชุมรวมกัน, บุคคลผู้มาประชุมร่วมกัน, สมาชิก(ผู้มีสิทธิหรือมีส่วนร่วมในสมาคมหรือกิจการใด ๆ).
  36. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  37. สริกฺข สริกฺขก : (วิ.) อัน...เห็นเสมอ, อัน...เห็นสม, อัน...พึงเห็นเสมอ. วิ. สมานมิว มํ ปสสิตพฺโพติ สริกฺโข สริกฺขโก วา. คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เหมือนกัน. วิ. สมาน มิว นํ ปสฺสตีติ สริกฺโข สริกฺขโก วา. สมานสฺส โส, ทิสฺธาตุยา ริกฺโข. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  38. สาขา : (อิต.) กิ่ง, กิ่งไม้, ก้าน, สิ่งย่อย, ส่วนย่อย, ห้วย. สาขฺ พฺยาปเน, อ. ส. ศาขา.
  39. สาขานคร : (นปุ.) เมืองเป็นสาขา, สาขานคร คือ ดินแดนที่แยกออกเป็นส่วนหนึ่ง.
  40. สาวเสส : ค. มีส่วนเหลือ
  41. สิทฺธตฺถ สิทฺธตฺถก : (ปุ.) เมล็ดพันธุ์ผักกาด วิ. สิทฺธา อตฺถา อสฺมินฺติ สิทฺธตฺโถ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  42. สิมฺพลี : (ปุ. อิต.) ไม้งิ้ว, ไม้งิ้วบ้าน. อลี ปัจ. ส่วนมากใช้อิต. เรียกว่าที่อยู่ของพญาครุฑว่าวิมานสิมพลี หรือวิมานฉิมพลี.
  43. สิริสป สิรึสป : (ปุ.) สัตว์ผู้เสือกไปด้วยศรีษะ, สัตวเสือกคลาน, สัตว์เลื้อยคลาน. สิรปุพฺโพ, สปฺปฺ คคิยํ, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อิ ลบ ปฺ สังโยค ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  44. สีวถิกา สีวฎฺฐกา : (อิต.) ป่าช้าผีดิบ วิ. ฉวา ธียนฺเต อตฺราติ สีวถิกา. ฉวปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ณฺวุ, ฉสฺส โส, อสฺสี, ธสฺส โถ, อสฺสิ, อิตฺถิยํ อา. ศัพท์หลัง แปลง ถิ เป็น ฐ ซ้อน ฎ.
  45. สุกฺกส : (ปุ.) ส่วนแห่งธรรมอันขาว.
  46. สุกร สูกร : (ปุ.) หมู, สุกร (สุกอน). วิ. สุนฺทรํ ผลํ กโรตีติ สุกโร สูกโร วา. อ ปัจ. ศัพท์หลัง ทีฆะ. ส. ศูกร, สูกร.
  47. สุขาภิบาล : (ปุ.) การรักษาซึ่งความสุข, การระวังรักษาให้เกิดความสุข, สุขาภิบาล ชื่อส่วนหรือหน่วยงานที่ทำหน้าที่ระวังรักษาเพื่อความสุขปราศจากโรค.
  48. เสกฺข เสข : (ปุ.) บุคคลผู้ยังต้องศึกษา, บุคคลที่ยังต้องศึกษา, เสกขบุคคล, เสขบุคคล, พระเสขะ คือ พระอริยบุคคล ๗ เบื้องต้น. สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, โณ. ศัพท์หลังลบ กฺ. อภิฯ วิ. ตีหิ สิกฺขาหิ ยุตฺตตฺตา เสกฺโข เสโข วา.
  49. เสนางฺคนิกร : (ปุ.) ส่วนแห่งกองทัพ,
  50. โสตฺถิก โสตฺถิย : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสวัสดี, ฯลฯ. ณิก ปัจ. ตรัทยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-765

(0.0519 sec)