อคฺคิ : ป. ไฟ, เพลิง
กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
กุกฺกุล, - กุฬ : ป. เถ้าหรือถ่าน, ถ่านเพลิง, ชื่อนรกขุมหนึ่ง
กุลงฺคาร : ป. บุคคลผู้เป็นดุจถ่านเพลิงแห่งวงศ์ตระกูล, ผู้ผลาญวงศ์ตระกูล
เคหฌาปน : นป., ป. การวางเพลิง, การเผาบ้าน, ผู้เผาบ้าน
จิตฺตก : (ปุ.) จิตมูลเพลิง เจตมูลเพลิง ชื่อ- พรรณไม้เล็กๆ ใช้ทำยาไทย. จิตฺ หึสา- คนฺเธสุ, ณฺวุ แปลง ต เป็น ตฺต
ติณุกฺกา : (อิต.) คบเพลิงสำเร็จด้วยหญ้า, คบหญ้า.
ทณฺฑกทีปิกา : อิต. ประทีปด้าม, คบเพลิง, ไต้
ทีปิกา : (อิต.) คบเพลิง, ตะเกียง, ทีปิกา ชื่อ คัมภีร์หนังสือ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิโก, ทีโฆ. ฎีกาอภิฯ เป็น ทีปฺ ธาตุ.
นรกคฺคิ : ป. ไฟนรก, เพลิงแห่งความชั่ว
นรกงฺคาร : ป. ถ่านไฟนรก, เพลิงแห่งความชั่ว
ผุฏน : นป. ความแตก, ความแย้มออก, ความระเบิด
ผุฏิต : ค. ซึ่งสั่น, ซึ่งหวั่นไหว, ซึ่งโคลงเคลง, ซึ่งระเบิด, ซึ่งแตก, ซึ่งแย้ม, ซึ่งบาน
วิทาลน : นป. การระเบิด
สุริวลฺลี : (อิต.) เชือกเขาเพลิง.
อคฺคิทาน : (นปุ.) การจุดไฟ, การวางเพลิง.
อคฺคิสญฺญิต : (ปุ.) เจตมูลเพลิง วิ. อคฺคีติสญฺญายเตติอคฺคิสญฺญิโต.
อคฺคิสญฺณิต : ป. เจตมูลเพลิง
องฺคาร : (ปุ.) ถ่าน, ถ่านเพลิง, เถ้า.วิ. องฺคติหานึ คจฺฉตีติ องฺคาโร. องฺคฺ คมเน, อาโรเป็นนปุ.ก็มี เชิงตะกอน ก็แปล. ส. องฺคาร.
องฺคารกปลฺล : (นปุ.) กระเบื้องแห่งถ่านเพลิง, เชิงกราน, อั้งโล่, เตาอั้งโล่, ตะคันชื่อเครื่องปั้นดินเผารูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบหรือเผากำยาน.
องฺคารราสิ : ป. กองถ่านเพลิง
อรณิ อรณี : (ปุ.) ไม้สีไฟ, เหล็กเพลิง. วิ. อรียตีติ อรณี. อรฺ คมเน, อณี. ยํ กฏฺฐํ กฎฺฐนฺตเรน อคฺคินิปฺผาทนตฺถํ ฆํสียเต ตํ อรณี.
อุกฺกา : (อิต.) คบ (ของใช้สำหรับจุดไฟให้ สว่าง ทำด้วยของต่าง ๆ เช่น กาบมะพร้าว ชุบน้ำมันยาง เป็นต้น), คบเพลิง, คบไฟ, เบ้า, เตาไฟของช่างโลหะ, เตาถ่านสำหรับ หลอมโลหะ, เตา, เตาถ่าน, เตาตีเหล็ก, โคม, ประทีป, ตะเกียง, กำลังแห่งลม, ความเร็วของลม. วิ. อุสตีติ อุกฺกา. อุสุ ทาเห, โก. ส. อุกฺกา.
อุกฺกาธาร : ป. ผู้ถือคบเพลิง