Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โกษ , then กษ, โกฏ, โกศ, โกษ, โกส .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โกษ, 44 found, display 1-44
  1. โกฏ : ค. (ภูเขา) มียอด; ป้อม, ที่มั่น
  2. โกส : (วิ.) แย้ม, ตูม, แง้ม (เปิดน้อยๆ).
  3. อณฺฑโกส : (ปุ. นปุ.) เปลือกแห่งไข่, เปลือกไข่. ส.อณฺฑโกศอณฺฑโกษ.
  4. โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
  5. โกสผล : (นปุ.) กระวาน วิ. โกสยุตฺตํ ผล เมตสฺสาติ โกสผลํ.
  6. โกฏจิกา : อิต. อวัยวะสืบพันธุ์หญิง
  7. โกสการก : ป. ตัวไหม
  8. โกสโกฏฐาคาร : ป., นป. เรือนคลังและยุ้งฉาง
  9. โกสช : (วิ.) เกิดจากคลัง. ฯลฯ
  10. พีชโกส : (ปุ.) ฝัก เช่น ฝักบัว. พีช+โกส.
  11. ชาติโกส : (นปุ.) ลูกจันทร์, ลูกจันทร์เทศ. วิ. โกสสหิตํ ชายติ ผล เมตสฺสาติ ชาติโกสํ.
  12. นิกฺโกสชฺช : (ปุ.) คนมีความเกียจคร้านออก แล้ว, คนไม่เกียจคร้าน, คนหมั่น, คนขยัน. วิ. โกสชฺชํ ยสฺส นตฺถีติ นิกฺโกสชฺโช.
  13. อกฺโกส : (ปุ.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
  14. อกฺโกสนา : (อิต.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
  15. อาโกฏนอาโกฏฺฏน : (วิ.) ตี, ทุบ, อัด, ตอก, เคาะ.อาปุพฺโพ, กุฏฺอาโกฏนาทีสุ, ยุ.ศัพท์หลังซ้อนฏฺ.
  16. อุปกฺโกส : (ปุ.) การกล่าวโทษ. อุปปุพฺโพ, กุสฺ อวฺหาเณ, โณ. บาลีเป็น ปโกส.
  17. กาฏโกฏจิกา : อิต. ผู้หญิงและผู้ชาย
  18. กุญฺจิตโกส : (ปุ. นปุ.) คลังลั่นกุญแจ, คลังใส่ กุญแจ.
  19. ขุรโกส : ป. ฝักหรือปลอกมีดโกน
  20. นิมฺพโกส : (ปุ. นปุ.) ชายคา.
  21. ปกฺโกสติ : ก. ร้องเรียก
  22. ปจฺจกฺโกสติ : ก. ด่าตอบ, แช่งตอบ
  23. ปฏิกฺโกสติ : ก. ด่าตอบ, ติเตียน, แช่งด่า, ดูหมิ่น; คัดค้าน, ปฏิเสธ, ห้าม
  24. มธุโกส : (ปุ. นปุ.) รวมแห่งผึ้ง, รวงผึ้ง.
  25. อกฺโกสติ : ก. ด่า, ติเตียน, แช่ง
  26. อุกฺโกฏนก : ค. ซึ่งไม่เที่ยงธรรม
  27. อุปกฺโกสติ : ก. ด่าว่า, ติเตียน, กล่าวโทษ
  28. กสา : (อิต.) แส้, แส้ม้า, หวาย. กสฺ คมเน, อ. ส. กสา, กษ.
  29. กกุธ : (ปุ.) ไม้รกฟ้าขาว, ไม้กุ่ม. วิ. กํ วาตํ กุฏติ นิวาเรตีติ กกุโธ. เอกักขรโกสฎีกา. อภิฯ และ เวสฯ เป็น กกฺ ธาตุ อุธ ปัจ. แปลว่า ไม้รังไก่ ก็มี.
  30. กงฺคุ : (อิต.) ข้าวฟ่าง, ประยงค์ ชื่อไม้พุ่มชนิด หนึ่ง ใบมีกลิ่นหอม. วิ. โสภณสีสตฺตา คมนียภาวํ คจฺฉตีติ กงฺคุ. คมฺ คติยํ, อุ. แปลง ค เป็น ก มฺ เป็น คฺ นิคคหิตอาคม. โมคคัลลายนพฤติ วิ. กามียตีติ กงฺคุ กมุ อิจฺฉายํ, อุ. เอกักขรโกสฎีกาวิ. เกน คุณาติ สททํ กโรตีติ กงฺคุ. ก ปุพฺโพ, คุ สทฺเท, อุ. ส. กงฺคุ, กงฺคุนี.
  31. โกฏก : (วิ.) ตี, ทุบ, เคาะ, ฯลฯ. กุฏฺ อาโกฏ- นาทีสุ, อ, สตฺเถ โก.
  32. โกฏฺฏก : (วิ.) ผู้ตี, ผู้ตอก, ผู้ทุบ, ฯลฯ. กุฏฺ อาโกฏนาทีสุ, ณฺวุ. ซ้อน ฏฺ.
  33. โกสิย : (ปุ.) ท้าวโกลีย์ ชื่อของพระอินทร์ชื่อที่ ๑๖ ใน ๒0 ชื่อ, พระอินทร์. วิ. โกสสํขาตานิ ฐานานิ อสฺส อตฺถีติ โกสิโย. โกสิยโคตฺตตาย จ โกสิโย.
  34. โกหญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยัง สกุลให้พิศวง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยังโลก (ชาวโลก) ให้พิศวง. วิ. กุหกสฺส ภาโว โกหญฺญํ. กุหก+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง กฺย เป็น ญฺญ ดูโกสชฺช ด้วย.
  35. ขม : (ปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  36. ขมน : (นปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  37. ขมา : (อิต.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  38. โคกณฺฏก : (ปุ.) โคกกระสุน ชื่อไม้เลื้อย ลูก เป็นหนาม ใช้ทำยา, กระจับ ชื่อพรรณไม้ ใบสีเขียว อาศัยใบและก้านเป็นทุ่นลอย อยู่ในน้ำ มีฝักคล้ายเขาควาย เมื่อแก่มีสีดำ เนื้อในสีขาว เป็นอาหารมีรสมัน วิ. ควํ กณฏโก โคกณฺฏโก. ปฐวึ วา ลคฺคคณฺฏโก โคกณฺฏโก, เอกักขรโกสฏีกา วิ. โคสฺส สุริยสฺส กณฺฏโก โคกณฺฏโก.
  39. ชาติปุปฺผ, ชาติผล : นป. ดู ชาติโกส
  40. เทวตานิ : (อิต. นปุ.) เทวดา. เทวตา เอว เทวตานิ. นิปัจ. สกัด. อภิฯ ว่า เทวตานิ ที่ เป็นปฐมา. เป็น อติ. ที่เป็น ทุติยา. เป็น อิต. และนปุ. อีกนัยหนึ่ง เทวตานิ ที่เป็น ปฐมาและทุติยา ว่าเป็น อิต. นั้น เพราะ แปลง โย วิภัตติเป็น นิ. อมรโกส ว่าเป็น ปุ. นปุ.
  41. นรท : นป. โกศชฎามังสี, ยาขี้ผึ้ง
  42. อกฺโกสน : (นปุ.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
  43. อนฺเตวาสิก : (ปุ.) ชนผู้มีความอยู่ในภายในเป็นปกติ, ศิษย์, อันเตวาสิกคือผู้ที่ตนสวดให้ในคราวอุปสมบทหรือผู้ที่ตนสอนวิชาให้.วิ.อนฺเตวาสิโก.อนฺเตวาสิโกส. อนฺตวา-สินอนฺเตวาสิน.
  44. อุกฺกส : (ปุ.) นกเขา, นกออก. วิ. อุทฺธํ โกสตีติ อุกฺกโส. อุทฺธํปุพฺโพ, กุสฺ สทฺเท, อ.
  45. [1-44]

(0.0632 sec)