Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดุ , then ดุ, ดู, ตุ .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ดุ, 2720 found, display 1801-1850
  1. เนียมอ้ม : (ถิ่นพายัพ) น. ต้นเนียม. [ดู เนียม๑(๑)].
  2. เนื้อ ๒ : น. ชื่อสัตว์ป่าประเภทกวาง. เนื้อทราย น. ชื่อกวางชนิด Cervus porcinus ในวงศ์ Cervidae เป็น กวางขนาดกลาง ตัวสีนํ้าตาลเข้มแต่ตอนล่างสีจางกว่า ตามลําตัวมีจุด ขาวจาง ๆ อยู่ทั่วไป ลูกที่เกิดใหม่จุดขาวนี้จะชัดเจนมากเช่นเดียวกับ ลูกกวางดาว ตัวผู้มีเขาผลัดเขาปีละครั้ง อยู่เป็นฝูงตามทุ่งหญ้า กินหญ้า ระบัด ใบไม้ และผลไม้ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองของไทย, กวางแขม กวาง ทรายหรือ ตามะแน ก็เรียก. เนื้อสมัน ดู สมัน.
  3. บงสุกุล : น. เรียกผ้าที่พระภิกษุชักออกจากศพว่า ผ้าบงสุกุล, โดยปรกติ ใช้ว่า บังสุกุล. (ดู บังสุกุล). (ป. ปํสุกูล ว่า ฝั่งแห่งฝุ่น, กองฝุ่น, คลุกฝุ่น).
  4. บริจาค : [บอริจาก] ก. สละให้, เสียสละ. น. การสละ, การให้, การแจก, ความ เสียสละ, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม. (ดู ทศพิธราชธรรม หรือ ราชธรรม). (ป. ปริจฺจาค).
  5. บริภัณฑ์ ๑ : [บอริพัน] น. วง, สิ่งแวดล้อม; เรียกภูเขาที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขา พระสุเมรุเป็นชั้น ๆ รวม ๗ ชั้นว่า เขาสัตบริภัณฑ์. (ป. ปริภณฺฑ). (ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์).
  6. บวบ : น. ชื่อไม้เถาหลายชนิดในสกุล Luffa วงศ์ Cucurbitaceae ดอกสีเหลือง ผลกินได้ เช่น บวบเหลี่ยม (L. acutangula L.) บวบกลม หรือ บวบหอม (L. cylindrica L.). บวบขม ดู นมพิจิตร(๒).
  7. บอง ๑ : น. เสือบอง. (ดู แมวป่า ที่ แมว๑).
  8. บ้อหุ้น : น. ชื่อการพนันชนิดหนึ่ง. (ดู บ้อ, บ้อหุ้น).
  9. บัทม์ : น. ปัทม์. (ส. ปทฺม; ป. ปทุม). (ดู บัว).
  10. บาจิกา : (แบบ) น. แม่ครัว. (ป. ปาจิกา). (ดู บาจก).
  11. บาร์เลย์ : น. ข้าวบาร์เลย์. (ดู ข้าวบาร์เลย์ ที่ ข้าว).
  12. บุคคลที่สาม : (กฎ) ดู บุคคลภายนอก.
  13. บู่ทะเล : น. (๑) ชื่อปลาบู่ชนิดหนึ่ง. (ดู บู่). (๒) ดู คางคก.
  14. ใบขนุน : น. (๑) ชื่อปลาทะเลชนิด Lactarius lactarius ในวงศ์ Lactariidae ลําตัวป้อม แบนข้าง หัวโตปากกว้างและเชิดขึ้น เกล็ดหลุดง่าย มีครีบหลัง ๒ ตอน ตอนที่ ๒ ยาวและมีลักษณะคล้ายครีบก้นซึ่ง อยู่ตรงข้ามและยาวกว่าเล็กน้อย ลําตัวสีเงินตลอด ที่ขอบด้านบน ของแผ่นปิดเหงือกมีจุดสีดําเด่น ครีบต่าง ๆ สีเหลืองอ่อน พบ ตลอดชายฝั่ง ขนาดยาวได้ถึง ๔๐ เซนติเมตร, ขนุน ญวน ซับขนุน หรือ สาบขนุน ก็เรียก. (๒) ชื่อหนึ่งของปลาตาเดียวโดยเฉพาะ ทุกชนิดในสกุล Pseudorhombus วงศ์ Bothidae เป็นปลาทะเล ที่มีตาทั้งคู่อยู่บนด้านซ้ายของหัว. (ดู ตาเดียว).
  15. ใบท้องแดง : (ถิ่น-จันทบุรี) น. ต้นกระบือเจ็ดตัว. (ดู กระบือเจ็ดตัว).
  16. ปก ๒ : (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ปลาแก้มชํ้า. (ดู แก้มชํ้า).
  17. ประ ๔ : [ปฺระ] (ถิ่น-ปักษ์ใต้, มลายู) น. ลูกกระ. (ดู กระ๒).
  18. ประ ๕ : [ปฺระ] ดู กระ.
  19. ประคนธรรพ, ประคนธรรพ์ : [ปฺระคนทับ, ปฺระคนทัน] ดู ประโคนธรรพ, ประโคนธรรพ์.
  20. ประภาคาร : น. กระโจมไฟ, เรือนตะเกียง ก็เรียก. (ดู กระโจมไฟ ที่ กระโจม). (ส.).
  21. ปรือ ๑ : [ปฺรือ] น. (๑) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Scleria poaeformis Retz. ในวงศ์ Cyperaceae ขึ้นในนํ้า ใบยาว ๆ ใช้มุงหลังคาและสานเสื่อเป็นต้น, อีสานเรียก แวง. (๒) ดู กกช้าง.
  22. ปล้อง ๒ : [ปฺล้อง] น. (๑) ชื่อหญ้าชนิด Hymenachne pseudointerrupta C. Muell. ในวงศ์ Gramineae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ต้นเป็นข้อ ๆ มีไส้ในระหว่างข้อเป็นปุยขาว. (๒) มะเดื่อปล้อง. (ดู มะเดื่อ).
  23. ปล้องขน : น. หญ้าปล้องขน. (ดู ขน๓).
  24. ปอม : (ถิ่น-อีสาน) น. กิ้งก่า. (ดู กิ้งก่า).
  25. ปั๋ง ๒ : (ถิ่น-พายัพ) น. ต้นปลัง. (ดู ปลัง).
  26. ปัณฑรหัตถี : [ปันดะระ-] น. ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล กายสีขาว ดังเขาไกรลาส. (ดู กาฬาวก).
  27. ปัทม-, ปัทม์ : [ปัดทะมะ-, ปัด] น. ชื่อบัวหลวงพันธุ์หนึ่ง. (ดู บัว).
  28. ปากคอก : น. หญ้าปากคอก. (ดู ตีนกา๓).
  29. ปิงคลหัตถี : [ปิงคะละ-] น. ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล กายสีทองอ่อนดั่งสีตาแมว. (ดู กาฬาวก).
  30. ปิฎก : น. ตะกร้า; หมวดแห่งคําสอนในพระพุทธศาสนา. (ป., ส. ปิฏก). (ดู ไตรปิฎก ที่ ไตร).
  31. ปิดเต๊าะ : (ถิ่น-พายัพ) น. ต้นพุงดอ. (ดู พุงดอ).
  32. ปี๊บ ๑ : น. ปีบ. (ดู ปีบ๒), ชื่อลูกโป่งที่ทําด้วยยาง.
  33. ปุดกะลา : (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ต้นกะลา. (ดู กะลา๒).
  34. ปุ่มปลา : น. ผักปุ่มปลา. (ดู ปอด๒).
  35. ปุริมพรรษา : [ปุริมมะพันสา, ปุริมพันสา] ดู บุริมพรรษา.
  36. ปูดกกส้มมอ : (ถิ่น-อีสาน) น. โกฐพุงปลา. (ดู โกฐพุงปลา ที่ โกฐ).
  37. เป้า ๓ : (ถิ่น-พายัพ) น. นกเปล้า. (ดู เปล้า๒).
  38. เปีย ๓ : น. ชื่อนกยางชนิดหนึ่ง. (ดู ยาง๑).
  39. เปียะ ๒, เปี๊ยะ : น. ขนมเปีย. (ดู เปีย๒).
  40. แป : น. ส่วนหนึ่งของโครงสร้างหลังคา วางอยู่บนโครงสร้างอื่น ๆ ได้แก่ จันทัน ปลายเต้า เสาตุ๊กตา ปลายขื่อ และปลายขื่อประธาน ทำหน้าที่รับกลอนหรือรับเครื่องมุงโดยตรง. ว. เรียกด้านเรือน ตามยาวว่า ด้านแป; เรียกมือที่พิการ นิ้วกําเข้าไม่ได้ ว่า มือแป, เรียกตีนที่พิการ นิ้วงอเข้าไม่ได้ ต้องเดินตะแคง ๆ ว่า ตีนแป; ย่อย, แบน, ในคำว่า เงินแป คือ เงินเหรียญที่เป็นเงินย่อย. (แป ไทยขาวว่า ย่อย, แตกออก). (ดู เงินแป ที่ เงิน).
  41. แป้งแช่ : (ถิ่น) น. ปลาทุงงะ. (ดู ทุงงะ).
  42. แปดสาแหรก : [-แหฺรก] น. คําเรียกต้นวงศ์สกุล คือ บิดามารดาของ ปู่และย่า ๔ ของตาและยาย ๔ รวมเป็น ๘ ที่เป็นผู้ดีทั้งฝ่ายบิดาและ มารดา เรียกว่า ผู้ดีแปดสาแหรก (เทียบสาแหรกที่มีข้างละ ๔ ขา ๒ ข้างเป็น ๘ ขา). (ดู ผู้ดีแปดสาแหรก ที่ ผู้). แปดเหลี่ยมแปดคม, แปดเหลี่ยมสิบสองคม (สํา) ว. มีเล่ห์เหลี่ยมมาก.
  43. แปบ ๑ : น. ถั่วแปบ. (ดู ถั่วแปบ ที่ ถั่ว๑).
  44. ผักเผ็ด : (ถิ่นพายัพ) น. ผักคราด. (ดู คราด๒).
  45. ผักไผ่ : (ถิ่นพายัพ) น. ผักแพว. [ดู แพว(๑)].
  46. ผักแว่น : น. (๑) (ถิ่นตราด) ต้นบัวบก. [ดู บัวบก(๑)].(๒) ดู แว่น๒(๑).
  47. ผักหนอก : [หฺนอก] (ถิ่นพายัพ, อีสาน) น. ต้นบัวบก. [ดู บัวบก(๑)].
  48. ผักหนอง : [หฺนอง] (ถิ่นพายัพ) น. ผักกระเฉด. (ดู กระเฉด).
  49. ผัคคุณี : น. ดาวผลคุนี. (ป.; ส. ผลคุนี). (ดู ผลคุนี).
  50. ผีกระสือ : น. ผีชนิดหนึ่งที่ถือว่าเข้าสิงในตัวผู้หญิง ชอบกินของ โสโครก, คู่กับ ผีกระหังซึ่งเป็นผีผู้ชาย. (ดู กระสือ๑).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | [1801-1850] | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2720

(0.1075 sec)