Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กาล , then กาล, กาละ, กาลา, กาฬ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กาล, 265 found, display 101-150
  1. ชีวิตปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่ง ชีวิต, การสิ้นสุดชีวิต, ความสิ้นสุดชีวิต.
  2. ตกฺกกาล : ป. กาลนั้น, เวลานั้น
  3. ตทา : อ. ในกาลนั้น, ในครั้งนั้น, เมื่อนั้น
  4. ตทาตฺต : นป. กาลนั้น, เวลานั้น
  5. ตทาตฺต ตทาตวฺ : (นปุ.) สิ่งอันเกิดแล้วในกาล นั้น วิ. ตสฺมึ เยว กาเล ชาตํ ตทาตฺตํ ตทาตฺวํ วา. ศัพท์หลังแปลง ต เป็น ว.
  6. ตทา ตทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนั้น,ครั้งนั้น, คราวนั้น, เมื่อนั้น. วิ. ตสฺมึ กาเล ตทา ตทานิ วา. ต ศัพท์ ทา, ทานิ ปัจ. ตทา ใช้เป็นประธานบ้าง แปลว่า อ. กาลนั้น.
  7. ตมุหุตฺต : (ปุ.) ครู่หนึ่งนั้น, กาลครู่หนึ่งนั้น.
  8. ตรหิ : อ. ในกาลนั้น, เมื่อนั้น
  9. ตาวกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลมีประมาณ เพียงนั้น, ตั้งอยู่ชั่วขณะขอยืม, ชั่วเวลา ขอยืม.
  10. เตกาลิก : ค. สามกาล, ประกอบด้วยสามกาล, มีสามกาล
  11. ทสา : (อิต.) ชายผ้า, ชายครุย, ความเป็นอยู่, ความกำหนด, ระยะกาลของชีวิต. ทา เฉทเน, โส, รสฺโส, อิตฺถิยํ อา. ฉา เฉทเนวา, ฉสฺส โท. ส. ทศา.
  12. ทิฏฺฐปุพฺพ ทิฏฺฐปุพฺพก : (วิ.) อัน...เห็นใน กาลก่อน, อัน...เคยเห็นแล้ว, เห็นแล้ว ในกาลก่อน, เคยเห็นกันแล้ว, เคยพบ กันแล้ว.
  13. ทิวา : (อัพ. นิบาต) วัน, กลางวัน, ในกลางวัน. อภิฯ ลงใน ปฐมาทุติยา และ สัตตมี. รูปฯ ลงใน ปฐมา ทุติยา และกาลสัตตมี.
  14. ทีฆทสฺสี : (วิ.) ผู้เห็นกาลนาน, ผู้เห็นกาล นานโดยปกติ. ฯลฯ, ผู้มีปกติเห้นกาลไกล, ณี ปัจ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
  15. ทีฆรตฺต : (นปุ.) ราตรียาว, ราตรีนาน, กาลนาน. วิ. ทีฆา รตฺติโย ทีฆรตฺตํ. แปลง รตฺติ เป็น รตฺต.
  16. ทีฆรตฺต : อ. ตลอดราตรีนาน, ชั่วกาลนาน
  17. ทีฆสุรต : (ปุ.) สัตว์ผู้ยินดีในกาลหลับนานใน เวลากลางวัน, สุนัข, หมา. ทิว+ทีฆ+สุป+รต ลบ ทิว และ ป.
  18. ทีฆโสตฺถิย : นป. ความปลอดภัยตลอดกาลนาน, สวัสดิภาพอันยั่งยืน, ความเจริญรุ่งเรืองชั่วกาลนาน
  19. เทโวโรหณสมาคม : (ปุ.) การมาพร้อมกัน (ประชุมกัน) ในกาลเป็นที่เสด็จลงจากเทวโลก.
  20. เทสนาปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งเทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
  21. เทสนาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่ง เทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
  22. นิจฺจ : (อัพ. นิบาต) ในกาลแน่นอน, ในกาล ทุกเมื่อ, เสมอ, ทุกเมื่อ.
  23. นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
  24. ปโทส : (ปุ.) กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี, พลบค่ำ, เวลาพลบค่ำ. วิ. โทสาย รตฺติยา ปารมฺโภ ปโทโส. ลบ อารมฺภ แล้วแปร ป ไว้หน้า อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปทุสฺสันติ ยตฺถ สพฺพกมฺมานีติ ปโทโส. ปปุพฺโพ, ทุสฺ โทสเน, โณ.
  25. ปปญฺจ : (ปุ.) ความแพร่หลาย, ความยืดยาว, ความซึมซาบ, ความเนิ่นช้า, ความเยิ่นเย้อ, ความนาน, ความเนิ่นนาน, ความขัดข้อง, กาลช้า, กาลเนิ่นช้า, ความแพร่หลาย ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ ให้เนิ่นช้า. วิ. ปปญฺจียเตติ ปปญฺโจ. ปปุพฺโพ, ปจิ วิตฺถาเร, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  26. ปาวุสฺสก : ค. เกี่ยวกับกาลฝนหรือฤดูฝน
  27. ปุพฺพ : (อัพ. นิบาต) ก่อน, แรก, ฯลฯ, ในกาลก่อน
  28. ปุพฺพกมฺม : (นปุ.) กรรมมีแล้วในกาลก่อน, กรรมที่ทำแล้วในกาลก่อน,กรรมในกาลก่อน, บุพพกรรม, บุพกรรม, บุรพกรรม (กรรมที่ทำไว้แต่ปางก่อน กรรมที่ทำไว้แต่ชาติก่อน).
  29. ปุพฺพจริต : (วิ.) อัน...ประพฤติแล้วในก่อน, อัน...ประ พฤติแล้วในกาลก่อน,ฯลฯ,
  30. ปุพฺพชาติ : (อิต.) ชาติมีในก่อน, ชาติมีในกาลก่อน, ชาติก่อน, บุรพชาติ.
  31. ปุพฺพญาติ : ป. ญาติในกาลก่อน
  32. ปุพฺพภาค : (ปุ.) กาลอันเป็นส่วนเบื้องต้น, ส่วนมีในเบื้องต้น, ส่วนเบื้องต้น, ส่วนแรก, บุพภาค, บุรพภาค.
  33. ปุพฺพรตฺต : (นปุ.) กาลก่อนแห่งราตรี วิ. รตฺติยา ปุพฺพํ ปุพฺพรตฺตํ. แปลง รตฺติ เป็น รตฺต รูปฯ ๓๓๖.
  34. ปุพฺพรตฺติ : (อิต.) ราตรีมีในเบื้องต้น,ราตรีเป็นเบื้องต้น, กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี.
  35. ปุพฺพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่อาศัยร่วมในก่อน, การอยู่อาศัยร่วมในกาลก่อน, การอยู่ร่วมกันในกาลก่อน.
  36. ปุพฺพาจริย : (ปุ.) อาจารย์ในก่อน,อาจารย์มีในกาลก่อน, อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดา มารดา, บุรพาจารย์
  37. ปุพฺเพกตปุญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันตนกระทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันได้กระทำไว้แล้วในกาลก่อน,ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในชาติก่อน.
  38. ปุพฺเพนิวาส : (ปุ.) การอยู่ในกาลก่อน, การอยู่อาศัยในกาลก่อน, การอยู่ร่วมกันในกาลก่อน.
  39. ปุพฺเพนิวาสญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่แล้วในกาลก่อน. ฯลฯ.
  40. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  41. ปุราตน : (อัพ. นิบาต) เป็นในกาลก่อน?
  42. ปุเร : (อัพ. นิบาต) ก่อน, ในก่อน, ในกาลก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
  43. ปุเรชาต : (วิ.) เกิดแล้วในกาลก่อน, เกิดก่อน. ปุเร+ชาต.
  44. ปุเรภตฺต : (นปุ.) ก่อนแห่งภัต, กาลก่อนแต่กาลแห่งภัต (ในเวลาก่อนฉัน), ก่อนอาหาร, เวลาก่อนอาหาร, ปุเรภัต, วิ. ภตฺตสฺส ปุเร ปุเรภตฺตํ. ภตฺตา วา ปุเร ปุเรภตฺตํ.
  45. โปราณ : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีในก่อน, อาจารย์ผู้เกิดแล้วในกาลก่อน, โบราณาจารย์. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  46. โปราณคติ : (อิต.) เรื่องมีในก่อน, เรื่องมีในกาลก่อน, เรื่องเก่า, โบราณคดี (เรื่องเกี่ยวกับโบราณ).
  47. โปราณ โปราณก : (วิ.) เป็นของมีในก่อน, เป็นของมีในกาลก่อน, มีในก่อน, มีในกาลก่อน, เป็นของเก่า, เป็นของเก่าแก่, เก่า, เก่าแก่, ก่อน, เดิม.
  48. โปราณวตฺถุ : (นปุ.) ของมีในกาลก่อน, ของเก่า, ของโบราณ, วัตถุโบราณ.
  49. พลวปจฺจุส พลวปจฺจูส : (ปุ.) กาลอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
  50. พุทฺธงฺกุร : ป. หน่อเนื้อแห่งพุทธะ, ผู้ซึ่งจะเป็นพระพุทธเจ้าในกาลภายภาคหน้า
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-265

(0.0436 sec)