Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กาล , then กาล, กาละ, กาลา, กาฬ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กาล, 265 found, display 151-200
  1. ภตฺตกาล : (ปุ.) เวลาแห่งภัต, ภัตกาล คือ เวลาฉันอาหารของภิกษุ-สามเณร หรือ ผู้รักษาอุโบสถศีล.
  2. ภูตปุพฺพ : (อัพ. นิบาต) ในกาลเคยเป็นแล้ว, ในกาลเคยมีแล้ว, ในกาลเคยมีมาแล้ว. นิบาตลงในอรรถกาลสัตมี รูปฯ ๒๘๒.
  3. มชฺฌณฺหิกกาล : (ปุ.) กาลประกอบแล้วในท่ามกลางแห่งวัน, เวลาเที่ยงวัน, เที่ยงวัน.
  4. มุหุ : (อัพ. นิบาต) บ่อยๆ , เนืองๆ, มาก. รูปฯ ว่าเป็นนิบาตลงในกาลสัตตมี.
  5. มุหุตฺต : (ปุ.) กาลขณะหนึ่ง, กาลครู่หนึ่ง, เวลาขณะหนึ่ง, เวลาครู่หนึ่ง, ครู่ (ประเดี๋ยวเดียว), ครู่หนึ่ง. หุจฺฉฺ โกฏิเลฺยฺ, โต. มุอาคมต้นธาตุ ลบ จฺฉฺ แปลง ต เป็น ตฺต.
  6. มุหุตฺต : (อัพ. นิบาต) ในกาลครู่หนึ่ง, ฯลฯ.
  7. มุหุตฺติก : (ปุ.) โหร ชื่อหมอดูฤกษ์ ผู้ชำนาญทางดาราศาสตร์เกี่ยวกับการพยากรณ์ วิ. มุหุตฺตํ กาลวิเสสํ ชานาตีติ มุหุตฺติโก. ณิก ปัจ.
  8. ยถาปุร : (นปุ.) เหมือนในกาลก่อน.
  9. ยทา : (อัพ. นิบาต) ในกาลใด, เมื่อใด, เมื่อไร.
  10. ยาวชตฺตนา : (อัพ. นิบาต) เพียงไรแต่กาลมีในวันนี้.
  11. รตฺตญฺญู : (ปุ.) บุคคลผู้รู้ราตรีนาน, บุคคลผู้รู้กาลนาน, บุคคลผู้มีประสบการณ์มาก, รัตตัญญูบุคคล (ผู้มีอายุมาก ผู้จำกิจการต่างๆ ได้มาก).
  12. รตฺตนฺธการ : (ปุ.) กาลทำซึ่งมืดแห่งราตรี, เวลาค่ำมืด.
  13. เวลา : อิต. กาล, คราว, สมัย
  14. สทา : ก. วิ. ในกาลทุกเมื่อ
  15. สพฺพทา : (อัพ. นิบาต) ในกาลทั้งปวง, ในกาลทุกเมื่อ, ทุกเมื่อ.
  16. สมฺปติ : (อัพ. นิบาต) กาลนี้, บัดนี้, เดี๋ยวนี้, บัดเดี๋ยวนี้, ในกาลนี้, ฯลฯ. นิบาตลงในอรรถกาลสัตมี รูปฯ.
  17. สาย : (อัพ. นิบาต) เย็น. สยตฺถนิปาต. ในเวลาเย็น, กาลสตฺตมิยตฺถนิปาต. ส. สายํ.
  18. สายณฺหสมย : (ปุ.) กาลเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, สมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, เวลาเย็น, เย็น.
  19. สุเว : (อัพ. นิบาต) วัน, วันพรุ่ง, พรุ่งนี้, ในวัน, ในวันพรุ่ง. รูปฯ ลงในอรรถกาลสัตมี.
  20. หิยฺโย : (อัพ. นิบาต) วันล่วงไปแล้ว, วันวาน, วานนี้, ในวันวาน. กาลสัตตมีนิบาต.
  21. เห : (อัพ. นิบาต) โลกอื่น, ภพอื่น, เบื้องหน้า, ภพหน้า, ในเบื้องหน้า, ในภพหน้า. กาลสตฺตมิยตฺเถ นิปาโต.
  22. อกฺขณ : (ปุ.) กาลมิใช่ขณะ, สมัยมิใช่ขณะ, โชคร้าย, ยามร้าย.
  23. กาล : (วิ.) มิใช่กาล, มิใช่ฤดูกาล, ไม่ใช่กาล.
  24. กาลจีวร : (นปุ.) ผ้าอันเกิดขี้นในสมัยมิใช่กาล, ผ้าที่ทายกทายิกาถวายนอกเขตฤดูกาล (ที่ทรงอนุญาต) คือผ้าที่เกิดขึ้นนอกเขตกาลจีวร, อกาลจีวร.อกาลจีวรมีกำหนดดังนี้ถ้าภิกษุไม่ได้กรานกฐินมีกำหนด ๑๑ เดือน ตั้งแต่ แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
  25. กาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลหามิได้, ไม่ประกอบด้วยกาล, ให้ผลมิได้เลือกซึ่งกาล, ให้ผลไม่เลือกเวลา, ให้ผลตลอดเวลา, ให้ผลทุกเวลา. เป็นคุณบทของพระธรรมบทที่ ๓ ใน ๖ บทพระพุทธศาสนาสอนว่าการทำความดีหรือความชั่วไม่เกี่ยวกับฤกษ์ยามทำเวลาไหนได้ผลทั้งสิ้น จะเป็นผลดีหรือชั่วแล้วแต่การทำ
  26. กาลิย : (วิ.) ไม่เป็นไปในกาล, ไม่ประกอบด้วยกาล, ฯลฯ.
  27. อจฺจย : (ปุ.) การล่วงไป, การก้าวล่วง, การเป็นไปล่วง, การล่วงละเมิด, การดูหมิ่น, ความล่วงไป, ฯลฯ, ความผิด, โทษอันเป็นไปล่วง, โทษอันล่วงเกิน, กาลเป็นที่เป็นไปล่วง, ความล่วงลับไป, ความตาย, วิ. อติกฺกมิตฺวา อยนํ อจฺจโย.อติปุพฺโพ, อิ คติยํ, โณ. ส. อตฺยยฺ.
  28. อจฺเจกจีวร : (นปุ.) ผ้ารีบร้อน, ผ้ารีบด่วน, อัจเจกจีวร คือ ผ้าจำนำพรรษานั่นเองแต่ทายกทายิการีบถวายเพราะมีเหตุจำเป็นต้องไปในกองทัพหรือเจ็บไข้ หญิงมีครรภ์ไม่มั่นใจในชีวิตมีพระพุทธานุญาตให้ภิกษุรับได้ก่อนออกพรรษา ๑๐วัน รับแล้วเก็บไว้ได้ตลอดกาลจีวร ไตร. ๒/๑๖๒.
  29. อชฺช : (อัพ. นิบาต) บัดนี้, เดี๋ยวนี้, วันนี้, ในวันนี้, ในกาลนี้.วิ.อิมสฺมึ ทิวเส อิมสฺมึกาเล วา อชฺช อิมศัพท์ ชฺชปัจ.แปลงอิมเป็นอ.
  30. อชฺชกาล : ก. วิ. ในกาลวันนี้, เมื่อเช้านี้
  31. อญฺญทา : (อัพ. นิบาต) ในกาลอื่น, ในกาลบางคราว.
  32. อฑฺฒมาส : (ปุ.) กาลกึ่งเดือน (ครึ่งเดือน).
  33. อณฺหกาล : ป. กาลร้อน, ฤดูร้อน
  34. อตินาเมติ : ก. ยังกาลให้ล่วงไป
  35. อตีต : (ปุ.) กาลอันเป็นไปล่วงแล้ว, อดีตกาลอติปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. วิ. อตีโต กาโลอตีโต.ลบกาล.
  36. อตีตกาล : (ปุ.) กาลอันเป็นไปล่วงแล้ว, อดีตกาล.
  37. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  38. อทฺธคต : (วิ.) ผู้ไปแล้วสู่ทางไกล, ผู้ถึงแล้วซึ่งกาลยืดยาว คือผู้ที่ผ่านทางไกล หรือผ่านกาลยืดยาวคือมีชีวิตอยู่มานานผู้ถึงวัยทั้งสามผู้ผ่านวัยทั้งสาม, ผู้เฒ่า.
  39. อทฺธนิย : (วิ.) เป็นไปสิ้นกาลนาน.อทฺธ+นิย ปัจ
  40. อธุนา : (อัพ. นิบาต) เดี๋ยวนี้, เมื่อกี้, ไม่นาน, ใหม่, ในกาลนี้, ในกาลเดี๋ยวนี้.
  41. อนฺตกาล : (ปุ.) กาลแห่งความตาย, เวลาตาย.ส.อนฺตกาล.
  42. อนฺธการ : (ปุ.) กาลผู้กระทำซึ่งมืด, สภาพผู้กระทำซึ่งมืด, ความมืดทำซึ่งความเป็นผู้บอด, ความมืด, ความมืดมัว, ความเขลา, วิ.อนฺธํหตทิฎฺฐิสตฺติกํโลกํกโรตีติอนฺธกาโร.ส. อนฺธการ.
  43. อนาคต : (ปุ.) กาลยังมาไม่ถึง, กาลที่ยังมาไม่ถึง, เวลาภายหน้า.ส.อนาคต.
  44. อนุปุพฺพ : (วิ.) อันเป็นไปตามซึ่งกาลในเบื้องหน้า, อันเป็นไปตามซึ่งธรรมในเบื้องหน้า, เป็นกระบวน, เป็นแบบ, เป็นฉบับ, เป็นแบบฉบับ, เป็นลำดับ.
  45. อนุวสฺส : ก.วิ. ทุก ๆปี, ทุก ๆกาลฝน
  46. อนุวสฺสิก : ค. ประจำปี, ผู้อยู่สิ้นกาลฝนหนึ่ง
  47. อปฺเปกทา : (อัพ. นิบาต) ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางคราว, บางคราว.
  48. อปรชฺชอปรชฺชุ : (อัพ. นิบาต) ในวันอื่นอีก, ในกาลอื่นอีก.
  49. อปรชฺช อปรชฺชุ : (อัพ. นิบาต) ในวันอื่นอีก, ในกาลอื่นอีก.
  50. อปรนฺตภาค : ป. อนาคตกาล, กาลภายหลัง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-265

(0.0436 sec)