Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กาล , then กาล, กาละ, กาลา, กาฬ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กาล, 265 found, display 201-250
  1. อปรนฺตภาเค : ก.วิ. ในกาลภายหลัง, ในอนาคตกาล
  2. อภิณฺหโส : (อัพ. นิบาต) เนือง ๆ, บ่อย ๆ, เสมออภิฯเป็นปุนัปปุนัตถนิบาตรูปฯเป็นกาลสัตตมีนิบาต.
  3. อภิลกฺขิตกาล : (ปุ.) กาลอัน...กำหนดแล้ว, เวลาที่กำหนด, อภิลักขิตกาล.
  4. อภิสมย : (ปุ.) การถึงพร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้-พร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้, การตรัสรู้ซึ่งธรรมการบรรลุ, การบรรลุธรรม, การละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง, ความถึงพร้อมเฉพาะ, ฯลฯ, คราวอันยิ่ง, กาลอันยิ่ง.อภิสํปุพฺโพ, อยฺ อิวา คมเน, อ. ตรัสรู้ได้ด้วยอะไร?ตรัสรู้ได้ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันและด้วยญาณในขณะโลกุตตรมรรค.ไตร.๓๑/๖๐๒.
  5. อภิเสกเคหปฺปเวสนวิวาหมงฺคล : (นปุ.) มงคลอันบุคคลพึงทำในกาลเป็นที่นำเข้าไปสู่เรือนเป็นที่อภิเษกและมงคลอันบุคคลพึงทำในกาลเป็นที่นำเจ้าบ่าวไปสู่เรือนอื่น(เรือน ฝ่ายเจ้าสาว).
  6. อวสฺสิก : ค. ยังไม่ได้กาลฝน, ยังไม่ได้พรรษา ; นวกะ
  7. อวสาน : (ปุ.) ที่สุดลง, กาลเป็นที่สุดลง, กาลเป็นที่จบลง, ที่สุด, ที่จบ, การจบ. อวปุพฺ-โพ, สาอวสาเน, ยุ.ส.อวสาน.
  8. อวิจิอวีจิ : (ปุ. อิต.) อเวจีชื่อนรกขุมใหญ่ขุมที่๘.วิ.อคฺคิชาเลหิจทุกฺเขหิจสตฺเตหิจนฺตถิเอตฺถวีจิอนฺตรนฺติอวีจิ(ไม่ว่างเว้นจากเปลวไฟทุกข์และสัตว์คือมีเปลวไฟทุกข์และสัตว์ลอดกาล).นตฺถิวีจิเอตฺถาติวาอวีจิ.อคฺคิชาลานิวาทุกฺขเวทนานํวาสตฺตานํวานตฺถิวีจิอนฺตรเมตฺถาติวาอวีจิ.
  9. อวีจิ : ๑. อิต. ชื่อนรกขุมหนึ่ง ; ความคร่ำคร่า ; ตลอดกาลไม่ขาดระยะ ; ๒. ค. ไม่มีคลื่น, ไม่มีเปลว
  10. อสงฺขิย, - เขย : นป. อสงไขย, กาลที่นับไม่ได้, เลขจำนวนสูงจำนวนหนึ่งมีศูนย์ตามหลัง ๑๔๐ ตัว
  11. อาคตปุพฺพ : (วิ.) มาแล้วในก่อน, มาแล้วในกาลก่อน, เคยมาแล้ว.
  12. อายตี : (อัพ. นิบาต) ต่อไป, เบื้องหน้า, ในกาลต่อไป.
  13. อายูหา : อิต. อายุ, ชีวิต, อายุกาล
  14. อาลาป : (ปุ.) การกล่าวในเบื้องต้นในกาลที่ ไปและกาลเป็นที่มา. วิ. อาทิมฺหิ คมนกาล- อาคมนกาเล ลาโป อาลาโป. การทักก่อน ให้น่ารักเมื่อไปและมา, การทักก่อน, การพูดก่อน, การทักทาย. วิ. อาทิมฺหิ ลาโป อาลาโป. อาทิโก วา อาลาโป อาลาโป. อาปุพฺโพ, ลปฺ วจเน, โณ. ส. อาลป.
  15. อิทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนี้, ในคราวนี้, คราวนี้, เดี๋ยวนี้, บัดนี้. อิม ศัพท์ ทานิ ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ ใช้เป็นประธานบ้าง อุ. ภนฺเต อิทานิ ฯลฯ. ขุ.ธ.
  16. อุตุก : ค. เหมาะแก่ฤดู, เหมาะแก่เวลา, ควรแก่กาล
  17. อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
  18. อุสฺสุร อุสฺสูร : (ปุ.) กาลมีพระอาทิตย์ในเบื้อง บน, กาลสาย, เวลาสาย. วิ. อุปริ ภโว สุโร สูโร วา ยสฺมึ โส อุสฺสุโร อุสฺสูโร วา.
  19. เอกทา : (อัพ. นิบาต) บางครั้ง, บางที, บาง คราว, ในกาลหนึ่ง, ในกาลบางครั้ง, ใน กาลบางคราว, ในกาลครั้งหนึ่ง.
  20. เอตรหิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนี้, เดี๋ยวนี้, บัดนี้, ไม่นาน, เมื่อกี้. วิ. เอตสฺมึ กาเล เอตรหิ. อิม ศัพท์ รหิ ปัจ. แปลง อิม เป็น เอต กัจฯ ๒๓๖ รูปฯ ๒๘๐.
  21. เอติหฺย เอติหย : (นปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันสืบมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนที่สืบมาแต่ อาจารย์ในกาลก่อน. ปุพฺพาจริย+เอต (อัน มาแล้ว อันมา อันสืบมา) +อา+อหฺ ธาตุ ในการเปล่งเสียง ย, อย ปัจ. แปลง อา เป็น อิ หรือ เอติ (อันมา อันสืบมา) อหฺ ธาตุ ย, อย ปัจ. ลบ ปุพฺพาจริย.
  22. เ สฺว : (อัพ. นิบาต) อันพรุ่ง, พรุ่งนี้, วันพรุ่งนี้, ในวันพรุ่ง, ในวันพรุ่งนี้ กาลสตฺตมิยตฺเถ นิปาโต. รูปฯ.
  23. กาฬกณฺฏก กาฬกณฺฐ ก : (ปุ.) นกกาน้ำ, นกอีลุ้ม. วิ. กาโฬ กณฺฏโก ยสฺส โส กา ฬกณฺฏโก. กาเล วสฺสมุตุมฺหิ กณฺโฐ กณฺฐทฺธนิ ยสฺส โส กาฬกณฺฏโก. กาฬกณฺฐโก วา. สมาสนฺเตน กปจฺจโย, ลสฺส โฬ.
  24. กาฬกา : (อิต.) กระรอก, กระแต. กาฬวณฺณ- ตาย กาฬกา.
  25. กาฬกูฏ : (ปุ.) กาฬกูฏ ชื่อยอดแห่งทิวเขา หิมาลัย และเป็นชื่อของพิษงู, เม็ดดำ ๆ.
  26. กาฬติปุ : (นปุ.) ตะกั่ว, เหล็กวิลาศ (พจนาฯ เป็นเหล็กวิลาด), ดีบุก. กาฬปุพฺโพ, ติปฺ ปีณเน, อุ. ติปุ ศัพท์เดียวก็แปลเหมือนกันนี้.
  27. กาฬปกฺข : (ปุ.) ข้างดำ, ฝ่ายดำ, ข้างแรม (ส่วนของเดือนทางจันทรคติ ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ ถึงสิ้นเดือน), กาฬปักข์, กาฬปักษ์. กาฬผลก
  28. กาฬโลณ : (นปุ.) เกลือมีสีดำ, เกลือดำ. วิ. กาฬวณฺณํ โลณํ กาฬโลณํ.
  29. กาฬสุตฺต : (ปุ.) กาฬสุตตุ ชื่อนรกใหญ่ขุมที่ ๒ ใน ๘ ขุม วิ. ยตฺถ นิรเย เนรยิกานํ สรีรานิ วฑฺฒกีนํ กาฬสุตฺเตน สญฺญ าณํ กตฺวา วาสินา ตจฺฉนฺติ โส กาฬสุตฺโต.
  30. กาฬาครุ : (นปุ.) กฤษณาดำ วิ. กาฬํ อครุ กาฬาครุ.
  31. กาฬายส : (นปุ.) เหล็ก วิ. กาฬญฺจ ตํ อยสญฺ จาติ กาฬายสํ.
  32. กาฬก : (วิ.) มีสีดำ, มีสีดำคล้ำ, ดำ, มลทิน.
  33. กาฬกฺขนฺธก : ป. มะพลับ
  34. กาฬกญฺชก : ป. ชื่อของอสูรพวกหนึ่ง, ยักษ์
  35. กาฬกณฺฐก : ป. นกกาน้ำ, นกอีลุ้ม
  36. กาฬกณฺณิก : ค. ผู้เป็นคนกาลกรรณี, ผู้เป็นคนจัญไร
  37. กาฬกณฺณี : อิต. ความจัญไร, ความเป็นเสนียด
  38. กาฬกพร : ค. กระดำกระด่าง, มีตัวด่างพร้อย
  39. กาฬเกส : ค. ผู้มีผมดำ, ผู้มีผมเป็นเงางาม
  40. กาฬโกกิล : (ปุ.) นกกาเหว่าดำ.
  41. กาฬขนฺธ : (ปุ.) มะพลับ.
  42. กาฬจุณฺณ : (นปุ.) ปูนซิเมนต์.
  43. กาฬชลฺลิก : ค. ซึ่งเกิดจากน้ำสีดำ, มีรอยด่าง, มีตำหนิ
  44. กาฬญฺชน : นป. ยาหยอดตาสีดำ
  45. กาฬตีปุ : นป. ตะกั่ว, ดีบุก; เหล็กวิลาศ
  46. กาฬนข : (ปุ.) คนเล็บดำ.
  47. กาฬเมยฺย : ป. นกแซงแซว
  48. กาฬยส : นป. เหล็ก
  49. กาฬวลฺลิ : อิต. เถาย่านาง
  50. กาฬวลฺลิ กาฬวลฺลี : (อิต.) เครือเถาหญ้านาง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-265

(0.0374 sec)