Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ขึ้นแท่น, แท่น, ขึ้น , then ขน, ขนทน, ขึ้น, ขึ้นแท่น, ทน, แท่น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ขึ้นแท่น, 795 found, display 51-100
  1. ฆรกูฏ : (นปุ.) ช่อฟ้า ชื่อตัวไม้ที่ติดอยู่เบื้อง บนของหน้าบัน รูปร่างเหมือนหัวนาค ชู ขึ้นเบื้องบน.
  2. จกฺกสมารูฬฺห : ค. ผู้ขึ้นแล้วสู่ล้อ, ผู้ขึ้นแล้วสู่ยาน, ผู้ขึ้นขี่รถแล้ว
  3. จกฺขุวิญญาณ : (นปุ.) ความรู้อันอาศัยประสาท ตาเกิดขึ้น, ความรู้ทางตา.
  4. จกฺขุวิญฺญาณ : นป. จักษุวิญญาณ, ความรู้ที่อาศัยตาเกิดขึ้น
  5. จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
  6. จิตฺตุปฺปาท : (ปุ.) การยังจิตให้เกิดขึ้น, การบัง เกิดขึ้นแห่งจิต. ความบังเกิดขึ้นแห่งจิต, ความบังเกิดขึ้นแห่งความคิด.
  7. จินฺตนาการ : (ปุ.) คลองแห่งความคิด, อาการ คือความคิด, การสร้างภาพขึ้นในใจ วิ. จินฺตนายํ ภาวํ อุกาโร ( การทำขึ้น การ สร้างขึ้น ) จินฺตนากาโร.
  8. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  9. จุณฺณียปท : (นปุ.) บทบาลีเล็กน้อย, จุณณียบท คือบทบาลีที่ยกขึ้นแสดงแต่เล็กน้อยก่อนที่ จะแสดงเนื้อความพิศดาร.
  10. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  11. เจลุกฺเขป : ป. การยกขึ้นซึ่งผ้า, การโบกผ้า (แสดงความพอใจ)
  12. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  13. ฉตฺตุสฺสาปน : นป. การยกเศวตฉัตร คือ การขึ้นครองราชย์
  14. ชคติรห : ป. ต้นไม้, สิ่งที่ขึ้นบนแผ่นดิน
  15. ชคตีรุห : (ปุ.) ต้นไม้ (ขึ้นที่แผ่นดิน).
  16. ชฎุล : (ปุ.?) ขี้แมลงวัน ( จุดดำเล็กๆที่ขึ้นตาม ผิวหนัง ), ไฝ, กระ (จุดดำเล็กๆมีสีต่างๆ กัน ). ชฏฺ สงฺฆาเต, อุโล. ส. ชฏุล.
  17. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  18. ชนาลย : (ปุ.) ปะรำ ชื่อของสิ่งปลูกสร้างทำ ขึ้นชั่วคราว มีเสาหลังคาแบน ดาดด้วยผ้า หรือสิ่งอื่นๆ, มณฑป ชื่อของเรือนยอดรูป สี่เหลี่ยม วิ. ชนาน มาลโย สนฺนิปาตฏฺฐานํ ชนาลโย.
  19. ชมฺภติ : ก. หาว, บิดกาย, เอี้ยวกาย; ลุกขึ้น, เดินไป
  20. ชุณฺหปกฺข : (ปุ.) ฝ่ายสว่าง, ฝ่ายขาว, ปักษ์ สว่าง, ปักษ์ขาว, ข้างขึ้น.
  21. ฌสา : (อิต.) แตงหนู (แตงลูกเล็กๆ ขึ้นตาม ชายทุ่ง), มะกอก ต้นไม้ชนิดหนึ่งมีหลาย ชนิด, ครอบโถหรือโลหะสัมฤทธิ์มีฝา ครอบสำหรับใช้ทำน้ำมนต์. ฌสฺ หึสายํ, อ.
  22. ฐปน : นป., ฐปนา อิต. การตั้งขึ้น, การยกขึ้น, การวางไว้, การรักษาไว้, การแต่งตั้ง, การสถาปนา; การงด, การหยุดไว้ (ในคำว่า ปาฏิโมกฺขฐปน การงดสวดปาฏิโมกข์)
  23. ฐานุปฺปตฺติ : อิต. การเกิดขึ้นโดยฉับพลัน
  24. ฑียน : นป. การบิน, การลอยขึ้น
  25. ตกฺกวฑฺฒน : นป. การยังความดำริให้เจริญหรือมากขึ้น
  26. ตณฺหาสมุทย : นป. เหตุเกิดขึ้นแห่งตัณหา
  27. ตตฺถวฎฺฏก : (ปุ.) ตัตถวัฏฏกะ ชื่อคนที่บริโภค มากจนลุกไม่ขึ้น (นอน) กลิ้งเกลือกอยู่ ในที่นั้น.
  28. ตลสตฺติก : นป. การยกมือขึ้นดุจประหาร, การยกมือขึ้นในรูปขู่ตะคอก
  29. ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
  30. ติลกาฬก : (ปุ.) กระ, ไฝ ( เม็ดที่มีสีดำหรือ แดง ขึ้นอยู่ตามตัว), ขี้แมลงวัน ( จุดดำ เล็กๆขึ้นตามตัว). วิ. ติลานิ อิว กาฬโก ติลกาฬโก.
  31. ตุนฺน : (วิ.) ชุน, เย็บ, ด้น ( เย็บเป็นฝีเข็มขึ้น ลง). ตุทฺ วฺยถเน, โน, ทสฺส โน.
  32. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  33. ทานุปฺปตฺติ, ปานูปปตฺติ : อิต. เหตุเกิดขึ้นแห่งทาน
  34. ทุกฺขสมุทย : (ปุ.) ความตั้งขึ้นพร้อมแห่งทุกข์, ความเกิดขึ้นแห่งทุกข์, เหตุให้เกิดทุกข์, ทุกขสมุทัย ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๒.
  35. ทุติยติถิ : (ปุ. นปุ.) ดิถีที่สอง,วันที่สอง,ดิถีที่สองหรือวันที่สองทางจันทรคตินั้นได้แก่วันขึ้นสองค่ำหรือวันแรมสองค่ำของเดือน.
  36. ทุปฺปพฺพชฺชา : (อิต.) การบวชได้โดยยาก, การบวชยาก, การบวชเกิดขึ้นได้โดยยาก, การที่จะบวชได้นั้นยาก เพราะยังติดอยู่ ในกามบ้าง เพราะเหตุอื่นๆ บ้าง.
  37. ทุมาสิก : ค. (ผม) ซึ่งงอกขึ้นมาเป็นเวลาสองเดือน
  38. โทสาโรปณ : นป. การยกขึ้นซึ่งโทษ, การแส่หาโทษคนอื่น, การกล่าวร้าย, การติเตียน
  39. ธมฺมยุตฺติกนิกาย : (ปุ.) ธรรมยุติกนิกาย ชื่อ นิกายสงฆ์ไทยฝ่ายเถรวาท ซึ่งเริ่มขึ้นในรัชกาลที่๓ ตั้งเป็นนิกายชัดเจนในรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. เมื่อนิกายนี้เกิดขึ้น จึงเรียกคณะสงฆ์ไทยดั้งเดิมว่ามหานิกาย.
  40. ธูมายติ : ก. รมควัน, บังหวนควัน, เป็นควันขึ้น, มืดมัว
  41. นนฺทิสมุทยน : นป. ความก่อตั้งขึ้นแห่งความยินดี, เหตุให้เกิดความเพลิน
  42. นภมุคฺคต : (วิ.) ขึ้นไปแล้วสู่ฟ้า, ฯลฯ, จรด ฟ้า.
  43. นโภคต : ค. ขึ้นบนฟ้า, โผล่จากฟ้า
  44. นิฑฺฑาเปติ : ก. ให้ตัดออก, ให้ถอนออก, ให้สะสาง, ให้ถอนขึ้น
  45. นิปฺปชฺชติ : ก. สำเร็จ, เกิดขึ้น, ปรากฏ
  46. นิปฺผาทก : ค. ผู้ผลิต, ผู้ประดิษฐ์, ผู้สร้างขึ้น, เครื่องผลิต
  47. นิปฺผาทิตุ : ค. ผู้ผลิต, ผู้ประดิษฐ์, สร้างขึ้น
  48. นิปฺผาเทติ : ก. ผลิต, ประดิษฐ์, ทำให้สำเร็จ, สร้างขึ้น
  49. นิพตฺตน นิพฺพตฺตน : (นปุ.) การเกิด, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ, ปสฺส โพ, ทสฺส โต, ทฺวิตฺตํ. วตฺต วตฺตเน วา.
  50. นิพฺพตฺตก : ค. ซึ่งเกิดขึ้น, ซึ่งผลิตขึ้น, อันประดิษฐ์ขึ้น
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-795

(0.0766 sec)