Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสนใจ, สนใจ, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสนใจ, 3694 found, display 1701-1750
  1. เปยฺยาล : (ปุ.) เนื้อความเพื่อความเป็นของอันบัณฑิตพึงรักษาไว้, เนื้อความควรเพื่ออันให้พิสดาร, เนื้อ ความควรเพื่ออันรักษาไว้, เปยยาล, ไปยาล. ในไวยากรณ์ใช้เป็นเครื่องหมายละคำ รูป“ฯ” นี้ เรียกว่า ไปยาลน้อย รูป “ฯลฯ” หรือ “ฯเปฯ” เรียกว่า ไปยาลใหญ่.
  2. เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
  3. โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
  4. โปริส : (ปุ.) ชนผู้ยังความปรารถนาของหญิงให้เต็ม, คนผู้มีปรีชา, คนผู้มีปัญญา. ปุรฺ ปูรเณ, อิโส.
  5. โปริสฺส : นป. ความเป็นบุรษ, คนมีปัญญา
  6. โปโรหิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งปุโรหิต. วิ. ปุโรหิตสฺส ภาโว โปโรหิจฺจํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๑.
  7. โปสน : (นปุ.) ความงอกงาม, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. ปสฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. การเลี้ยง, การเลี้ยงดู, การปรนปรือ. ปุสฺ โปสเน, ยุ.
  8. : (ปุ.) ลม, การบูชา, การเซ่นสรวง, ความโกรธ.
  9. ผรสุ : (ปุ.) พร้ามีด้าม, ผึ่ง, ขวาน, ขวานถาก. วิ. ปเร ชเน อุสาเปตีติ ผรสุ. ปรปุพฺโพ, สสุหึสายํ, อุ, ปสฺส โผ, สโลโป จ. หรือตั้ง สุธาตุในความเบียดเบียน. เป็น ปรสุ โดยไม่แปลง ป เป็น ผ บ้าง. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
  10. ผลฏฺฐ : ค. ตั้งอยู่ในผล, มีความยินดีในมรรคผลที่ตนได้บรรลุ
  11. ผลตฺถิก : ค. ผู้มีความต้องการผล, ผู้หวังผลประโยชน์
  12. ผลตา : อิต. ความเป็นผู้ได้รับผล
  13. ผลวิปาก : (ปุ.) ความสุกวิเศษแห่งผล, ความสุกวิเศษแห่งผลแห่งกรรม.
  14. ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
  15. ผสฺสน : (นปุ.) อันกระทบ, ฯลฯ, ความถูกต้อง. ยุ ปัจ. แปลว่า การถือ ก็มี.
  16. ผาติ : (อิต.) อันทวี, อันทวีขึ้น, อันเจริญ, อันเจริญขึ้น, อันเพิ่ม, อันเพิ่มขึ้น, การทวี, ฯลฯ, ความทวี, ฯลฯ. ผา ผายฺ วา วุฑฺฒิยํ, ติ. ถ้าตั้ง ผายฺ ธาติพึงลบ ยฺ. การผ่า, การตัด, การฉีก, การแหก, การแยก, การแบ่ง. ผา ผาลเน, ติ.
  17. ผารุลิย : นป. ความรุนแรง, ความเกรี้ยวกราด, ความไม่กรุณา
  18. ผาสุ : (นปุ.) ความอิ่มใจ, ความพอใจ, ความยินดี, ความสำราญ, ความสุข, ความสบาย. ผสฺสฺ สินิเยฺห, ณุ. ลบ สฺ สังโยคทีฆะต้นธาตุ. อภิฯ และฎีกา อภิฯ
  19. ผาสุก : (ปุ.) ความอิ่มใจ, ฯลฯ. ก สกัด. ส. ผาสุก.
  20. ผุฉ ผุฉน : (นปุ.) อันซ่านไป, อันแผ่ไป, อันแพราหลาย, การแผ่ไป, ฯลฯ, ความแผ่ไป, ฯลฯ. ผุฉฺ วิสรเณ, อ, ยุ.
  21. ผุฏน : นป. ความแตก, ความแย้มออก, ความระเบิด
  22. ผุฏ ผุฏน : (นปุ.) อันบาน, อันเปิดออก, อันปรากฏ, อันแจ่มแจ้ง, การบาน, ฯลฯ, ความบาน, ฯลฯ. ผุฏฺ วิกสเน, อ, ยุ. อันแตก, อันทำลาย, อันสลาย. ผุฏฺ วิเภเท, อ, ยุ.
  23. ผุฏิตตฺต : นป. ความหวั่นไหว, ความโคลงเคลง; ความแย้มออก, ความแตกออก
  24. ผุล ผุลน : (นปุ.) อันสั่งสม, อันสะสม, อันรวบรวม, อันแผ่, อันขยาย, การสั่งสม, ฯลฯ, ความสั่งสม, ฯลฯ. ผุลฺ สญฺจเย ผรเณ จ, อ, ยุ.
  25. เผคฺคุ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, หาแก่นมิได้, ไร้สาระ. วิ. ผลติ นิปฺผลํ คจฺฉตีติ เผคฺคุ (ถึงซึ่งความมีผลออกแล้ว ไม่มีผล). ผลฺ นิปฺผตฺติยํ, คุ, อสฺเส, ลสฺส โค.
  26. เผคฺคุตา : อิต. ความเป็นไม้แห้ง, ความไม่มีแก่นสาร
  27. พทฺธญฺชลิก : ค. ผู้ประนมมือขึ้นแสดงความเคารพ
  28. พทฺธา : (อิต.) การตี, การประหาร, การทำให้ปั่นป่วน, การเบียดเบียน, ความหยิ่ง. พาธฺ วิโลลเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ ธฺ รัสสะ อา เป็น อ.
  29. พทร : (วิ.) ทำลายซึ่งความกระวนกระวายอันเป็นไปทั่วแล้ว, อันทำลายซึ่งความเร่าร้อนอันเป็นไปทั่วแล้ว. ปวตฺตปุพฺโพ, ทร วิทารเณ, อ, ลบ วตฺต แปลง ป เป็น พ.
  30. พฺยตฺต : (วิ.) ผู้เป็นไปวิเศษ, ปรีชา, ฉลาด, เฉียบแหลม, แจ้ง แจ่มแจ้ง. วิเสส+อทฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ.
  31. พฺยตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาด, ผู้คงแก่เรียน
  32. พฺยตฺตย : (ปุ.) ความแปรปรวน, ความตรงกันข้าม. วิ อติปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย แมลง วฺ เป็น พ. ลบ อิ ที่ ติ บวก อย ซ้อน ตฺ.
  33. พฺยตฺติ : (อิต.) ความฉลาด, ฯลฯ, ความจัดเจน, ความจัดจ้าน, ความประจักษ์แจ้ง, ความปรากฏ. วิปุพฺโพ, อทฺ คติยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ หรือ คง ติ ไว้แปลง ทฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  34. พฺยปฺปถ : ค. ผู้มีความขวนขวาย, ผู้ขยัน, ผู้หมั่นเพียร
  35. พฺยปฺปนา : (อิต.) ความตริ, ความตรึก, วิตก, วปุพฺโพ, อปฺปฺ ปาปุณเน, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
  36. พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
  37. พฺยากรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้ง, การทำนาย, การกล่าวทาย, การกล่าวแก้, การเฉลย, การคาดการณ์, การยืนยัน, ความยืนยัน, พยากรณ์ ชื่อเวทางค์ คือ การเรียนพระเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง. วิ. ยถาสรูปํ สทฺทา วฺยากรียนฺติ เอเตนาติ วฺยากรณํ. วิ อา ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. อภิฯ. สาธุสทฺทานมนฺวาขฺยายกํ พฺยากรณํ. ฎีกาอภิฯ.
  38. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  39. พฺยาปชฺฌ : (นปุ.) ความเบียดเบียน ความพยาบาท. วิ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, โณฺยฺ แปลง อิ เป็น ย ทฺย เป็น ชฺฌ. เป็น พฺยาปชฺฌา พฺยาปชฺชา บ้าง.
  40. พฺยาปตฺติ : (อิต.) ความเบียดเบียน, ฯลฯ. ติ ปัจ.
  41. พยาปน : (นปุ.) ความซ่านไป, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  42. พฺยาปนฺนจิตฺต : (นปุ.) จิตมีความพยาบาท.
  43. พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
  44. พฺยาปาทกวิตกฺก : ป. พยาบาทวิตก, การตรึกถึงความพยาบาท
  45. พฺยาปาธ : ป. การเบียดเบียน, ความชั่ว
  46. พยาปาร : (ปุ.) ความขวนขวาย. วิ อา ปุพฺโพ, ปรฺ คติยํ, โณ.
  47. พฺยาโรสนา : (อิต.) ความกริ้วกราด (โกรธมาก), กราดกริ้ว เกรี้ยวกราด (ดุและด่าอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ). วิ. อา ปุพฺโพ, รุสฺ โรสเน, ยุ.
  48. พฺยาวจฺจ : (นปุ.) ความขวน ขวาย, ความกระตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วจฺจ อชฺฌายเน, อ.
  49. พฺยาส : (ปุ.) ความแพร่หลาย, ความพิสดาร, ความยืดยาว, ความเนิ่นช้า, ความเนิ่นนาน, ความซึมซาบ. วิ ปพฺโพ, อสุ เขปเน, โณ.
  50. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | [1701-1750] | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3694

(0.1010 sec)