Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสนใจ, สนใจ, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสนใจ, 3694 found, display 3351-3400
  1. อาโยค : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องประกอบยิ่ง, ความเพียร, การรัดเข่า, ผ้ารัดเข่า.อาปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ.
  2. อารกตฺต : นป. ความไกล, ความห่างไกล, ความเป็นผู้ไกลจากกิเลส
  3. อารกตาอารกตฺตา : (อิต.) ความที่แห่ง....เป็นผู้ไกล, ความที่แห่ง....เป็นของไกล.
  4. อารกา : (อัพ. นิบาต) ไกล, ห่างเหิน, ห่างไกล, ในที่ไกล, แปลว่า ใกล้ก็มี แล้วแต่เนื้อความของประโยคนั้น ๆ.
  5. อารญฺญกตฺต : นป. ความเป็นผู้อยู่ป่าเป็นวัตร, การถือการอยู่ป่าเป็นวัตร
  6. อารติ : (อิต.) การงด, การเว้น, การงดเว้น, การเลิก, การหยุด, ความงด, ฯลฯ.วิ.ทูรโตวิรมณํอารติ.อาปุพฺโพ, รมุอุปรมเน, ติ, มุโลโป.ส.อารติ.
  7. อารทฺธจิตฺต : ค. มีจิตอันปรารภความเพียรแล้ว, มีจิตตั้งไว้แล้ว
  8. อารทฺธวิริย : ค. ผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว, ผู้เริ่มตั้งความเพียร
  9. อารภน : นป. การทำ, การเริ่มต้น, ความพยายาม
  10. อารมฺพณอารมฺพน : (นปุ.) การยึดหน่วง, ความยึดหน่วง, อารมณ์.อาปุพฺโพ, ลพิ อวลมฺพเณ, ยุ. แปลงล เป็น ร. ส. อาลมฺพน
  11. อารมฺภ : (ปุ.) ความเริ่มต้น, ความริเริ่ม, ความเริ่มแรก, ความปรารภ, ความเพียร, การเริ่ม, การเริ่มต้น, ฯลฯ.อาบทหน้ารภฺธาตุในความเริ่มพยายามอปัจ. นิคคหิตอาคม.
  12. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  13. อาราธก, - ธิก : ๑. ค. ผู้ยินดียิ่ง, ผู้พอใจ ; ผู้ประสบความสำเร็จ ; ผู้กระตือรือร้น; ผู้อาราธนา; ๒. ป. ความยินดี, ความพอใจ, ความกระตือรือร้น; การอาราธนา
  14. อาราธน : (นปุ.) การยัง....ให้ยินดี, การยัง....ให้โปรดปาน, การเชื้อเชิญ, การยินดี, การนิ-มนต์, การอ้อนวอน, การให้สำเร็จ, การบรรลุ, การถึง, การอาราธนา (การขอ).อาปุพฺโพ, ราธฺสํสิทฺธิยํ, ยุ.ไทยใช้อารา-ธนาเป็นกิริยาในความว่าขออ้อนวอนเชื้อเชิญส.อาราธน.
  15. อารามตา : อิต. ความรักใคร่, ความพอใจ.
  16. อาริสฺส : ป. ความเป็นฤษี, ความเป็นนักบวช
  17. อารูคฺย : นป. ความไม่มีโรค, ความปราศจากโรค
  18. อาโรคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้หาโรคมิได้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ความเป็นผู้ไม่มีโรค, วิ.อโรคสฺสภาโวอาโรคฺยํณฺยปัจ.ภาวตัท.ส.อาโรคฺย.
  19. อาโรคฺยมท : ป. ความมัวเมาในความไม่มีโรค
  20. อาโรจน : (นปุ.) การบอก, การบอกกล่าว, ความชอบใจ, ความรุ่งเรือง, ความสุกใจ.อาปุพฺโพ, รุจฺโรจนทิตฺตีสุ, ยุ.
  21. อาโรจนา : (อิต.) การบอก, การบอกกล่าว, ความชอบใจ, ความรุ่งเรือง, ความสุกใจ.อาปุพฺโพ, รุจฺโรจนทิตฺตีสุ, ยุ.
  22. อาโรทน : (นปุ.) การร้องไห้ทั่ว, การครวญครางความครวญคราง, ความโหยหวน.อาปุพฺโพ, รุทฺอสฺสุวิโมจเน, ยุ.
  23. อาโรปน : (นปุ.) การยกขึ้น, การเนา (เย็บห่าง ๆ พอให้อยู่เป็นเนา).อาบทหน้า รุปฺธาตุในความตั้งไว้ยุ ปัจ.
  24. อาโรหน : (นปุ.) การยกขึ้น, การขึ้นไป, ความยาว, ส่วนยาว, ความสูง, ส่วนสูง.อาปุพฺโพ, รุหฺปาตุภาเว, โณ.ส.อาโรห, อาโรหณ.
  25. อาโรหปริณาห : ป. ความยาวและความกว้าง
  26. อาโรหา : อิต. หญิงงาม, ความถึงพร้อมด้วยทรวดทรง
  27. อาลยสมุคฺฆาต : (ปุ.) ความถอนขึ้นด้วยดีซึ่ง อาลัย, ความหมดกังวล, ความหมด อาลัย, ความหมดตัณหา.
  28. อาลสฺย อาลสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคน เกียจคร้าน, ความเป็นคนเกียจคร้าน. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสฺยํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท ลบ อ ที่ ส ทีฆะ อ อักษรต้นเป็น อา ลบ ณฺ ศัพท์หลังแปลง สฺย เป็น สฺส.
  29. อาลสิย : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนเกียจคร้าน, ฯลฯ. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสิยํ. ณฺย ปัจ. ความเกียจคร้าน. ณฺย ปัจ. สกัด เมื่อลบ อ ที่สุดศัพท์ แล้ว ลง อิ อาคม รูปฯ ๓๗๑ หรือ ลง ณิย ปัจ. ตามสัททนีติ.
  30. อาลสิย, - ลสฺย, - ลสฺส : นป. ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา
  31. อาลิงฺคณ อาลิงฺคน : (นปุ.) การสวมกอด, การเคล้าคลึง, การอิงแอบ, ความสวมกอด, ฯลฯ. วิ. อาลิงฺคียเตติ อาลิงฺคณํ อาลิงคนํ วา. อาปุพฺโพ, ลิงฺคฺ คมเน, ยุ. ส. อาลิงฺคน.
  32. อาลุก : ๑. นป. ดู อาลุ๒. ค. มีความรู้สึกเร็ว, มีความปรารถนา
  33. อาลุลิก : (นปุ.) ความขุ่นมัว, กรรมอันขุ่นมัว. อาปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อิ. แปลง ฬ เป็น ล ก สกัด.
  34. อาโลก : (ปุ.) การเห็น, การดู, ความสว่าง, ความรุ่งเรือง, แสง, แสงสว่าง, รัศมี. อาปุพฺโพ, โลกฺ ทสฺสเน, อ. ส.อาโลก.
  35. อาโลกน : (นปุ.) การเห็น, การดู, การจ้องดู, ความตรึกตรอง, ความเห็น. ยุปัจ.
  36. อาโลกสญฺญา : อิต. อาโลกสัญญา, ความสำคัญว่ามีแสงสว่าง
  37. อาโลฬ : ป. ความขุ่นมัว, การระคน, การสับสน
  38. อาวชฺชน : (นปุ.) การพิจารณาอารมณ์, ความพิจารณาอารมณ์. อาปุพฺโพ, วชฺ มคฺคเน, ยุ, ชฺสํโยโค.
  39. อาวชฺชนา : (อิต.) ความคำนึง, ความคิด, ความนึก. อาปุพฺโพ, วชฺ สงฺขาเร, ยุ. ลง ณฺย ปัจ. ประจำธาตุ ลบ ณฺ แปลง ชฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  40. อาวฏฺฏน : นป. ความวนเวียน, ความงงงวย, เครื่องล่อ, การถูกมารดลใจ
  41. อาวรณตา : อิต. ความขัดขวาง, ความกีดกัน
  42. อาวาธ : ป., นป. ความเจ็บปวด, ความวิตกกังวล
  43. อาวาสมจฺฉริย : (นปุ.) ความตระหนี่ซึ่งที่อยู่, ความตระหนี่ที่อยู่, ความหวงที่อยู่.
  44. อาวิภาว : ป. ความปรากฏแจ่มแจ้ง, ความปรากฏชัด
  45. อาวิลตฺต : นป. ความรบกวน, ความปั่นป่วน, ความขุ่นมัว
  46. อาวี : อิต. ความเจ็บปวดในการคลอดบุตร
  47. อาเวส : (ปุ.) ความไว้ตัว, ความคลุ้มคลั่ง. วิ. อาเวสนํ อาเวโส. อาปุพฺโพ, วิสฺ ปเวสเน, อ.
  48. อาส : (ปุ.) ความปรารถนา. อสุ อิจฺฉายํ, โณ. ส. อาศํสน อาศํสา.
  49. อาสกตฺต : นป. ความมีอาหาร
  50. อาสงฺก : (ปุ.) ความรังเกียจ, ความระแวง. อาปุพฺโพ, สกิ สงฺกายํ, อ. ส. อาศงฺกา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | [3351-3400] | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3694

(0.0931 sec)