Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสนใจ, สนใจ, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสนใจ, 3694 found, display 3401-3450
  1. อาสงฺกา : อิต. ความสงสัย, ความหวาดระแวง
  2. อาสงฺกี : ค. ผู้มีความสงสัย
  3. อาสงฺค : ๑. ป. ความข้อง, ความคิด; เสื้อผ้า; ๒. ค. ซึ่งประดับตกแต่ง
  4. อาสตฺติ : (อิต.) ความตั้งหน้า, ฯลฯ. ติ ปัจ.
  5. อาสปฺปนา : อิต. การเลื้อยคลานไป, ความสงสัย
  6. อาสภฏฺฐาน : นป. คอกวัว, ตำแหน่งที่มีชื่อเสียง, ความเป็นผู้นำ
  7. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  8. อาสวกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
  9. อาสวกฺขยญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเหตุยัง อาสวะให้สิ้นไป, ความรู้เป็นเหตุสิ้น อาสวะ, ความรู้ในความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
  10. อาสส : ค. ผู้มีความหวัง
  11. อาสสน : นป. ความหวัง, ความประสงค์
  12. อาสสุก : ค. ผู้มีความปรารถนา
  13. อาสา : (อิต.) ชื่อของตัณหา, ตัณหา. อาสา วุจฺจติ ตณฺหา. ไตร ๒๙/๑๑๘. ความหวัง, ความปรารถนา. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็นอา). ส. อาศา
  14. อาสาภงฺค : ป. ความหมดหวัง, ความพลาดหวัง
  15. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  16. อาสิ อาสี : (อิต.) ความหวังด้วยวัตถุ (เรื่อง) อัน...ปรารถนาแล้ว. อิฏฺฐสฺส วตฺถุโน อาสึสนา. ความหวังดี, การให้พร, อาเศียร. ส. อาศิสฺ แปลง สฺ เป็น รฺ เป็น อาศิร.
  17. อาสึสฏฺฐ : (ปุ.) ความจำนง, ความหวัง, ความปรารถนา. อาปุพฺโพ, สิสฺ ปตฺถนายํ อาสิสิ ปตฺถนายํ วา, โต. ยุ.
  18. อาสึสน : (นปุ.) ความจำนง, ความหวัง, ความปรารถนา. อาปุพฺโพ, สิสฺ ปตฺถนายํ อาสิสิ ปตฺถนายํ วา, โต. ยุ.
  19. อาสึสนา : (อิต.) ความจำนง, ความหวัง, ความปรารถนา. อาปุพฺโพ, สิสฺ ปตฺถนายํ อาสิสิ ปตฺถนายํ วา, โต. ยุ.
  20. อาสึสา : อิต. ความหวัง, ความอยาก
  21. อาหารโลลตา : อิต. ความละโมบในอาหาร
  22. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  23. อิกฺขณ อิกฺขน : (นปุ.) การเห็น, การดู, การ แลดู, การเพ่ง, ความแลดู, ความพินิจ, ความรู้, ความกำหนด, เครื่องหมาย, ยุ ปัจ.
  24. อิงฺค : (ปุ.) อาการ, ท่าทาง, ความเคลื่อนไหว, ความอัศจรรย์, ความรู้. อิงฺคฺคติยํ, อ.ส.อิงฺคฺ.
  25. อิจฺจ : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความไป, ฯลฯ. อิ คติยํ, ริจฺโจ.
  26. อิจฺฉ : (นปุ.) ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน, ความอยาก, ความอยากได้, ความใคร่, ความหวัง, ความต้องการ, ความใส่ใจ. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, สุสฺส จฺโฉ (แปลง สุ เป็น จฺฉฺ).
  27. อิจฺฉตา : อิต. ความปรารถนา, ความประสงค์, ความจำนง
  28. อิจฺฉน : นป. ความปรารถนา, ความประสงค์, ความอยาก
  29. อิจฺฉา : (อิต.) อิจฉา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความปรารถนา, ฯลฯ. วิ. เอสนํ อิจฺฉา. รูปฯ ๕๘๓. ไทยใช้ อิจฉา เป็นกิริยาใน ความว่า ริษยา. ส. อิจฉา.
  30. อิจฺฉาปกต : ค. ผู้มีความต้องการเป็นปกติ
  31. อิจฺฉาวิฆาต : นป. ความขัดข้องแห่งความปรารถนา, ความไม่สมหวัง
  32. อิชฺฌน : นป., อิชฺฌนา อิต. ความเจริญ, ความรุ่งเรือง, ความสำเร็จ
  33. อิญฺชิต : (นปุ.) ความไหว, ฯลฯ. ต ปัจ. อิ อาคม.
  34. อิญฺชิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความไหว, ฯลฯ.
  35. อิฏฺฐ : (นปุ.) ความพอใจ, ฯลฯ, อิฏฐารมณ์.
  36. อิฏฺฐ : ๑. นป., ความอยาก, ความชอบใจ, ความสวยงาม, อารมณ์ที่น่าชอบใจ; ๒. ค. ยินดี, พอใจ, น่ารัก, น่าใคร่, สวยงาม
  37. อิณปริโภค : (ปุ.) การบริโภคด้วยความเป็น หนี้.
  38. อิตฺตรตา : อิต. ความเป็นของเปลี่ยนแปลง
  39. อิตฺถตฺต : นป. ๑. ภพนี้, ชาตินี้; ๒. สตรีภาพ, ความเป็นหญิง
  40. อิตฺถตฺตา : (อิต.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท ซ้อน ตฺ.
  41. อิตฺถภาว : (ปุ.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ.
  42. อิตฺถมฺภูต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งประการนี้, ถึงแล้ว ซึ่งอาการนี้, ถึงแล้วซึ่งความเป็นอย่างนี้. วิ. อิตฺถํ ภูโต ปตฺโตติ อิตฺถมฺภูโต. คำแปลหลัง วิ. อิตฺถตฺตํ ภูโตติ อิตฺถมฺภูโต. ลบ ตฺต.
  43. อิตฺถิกาม : ป. ความใคร่ในผู้หญิง, ความอยากได้หญิง
  44. อิตฺถินิมิตฺต : นป. อิตถีนิมิต, เครื่องหมายความเป็นหญิง
  45. อิตถีนิมิตฺต : (นปุ.) เครื่องหมายของหญิง. อิตฺถี+นิมิตฺต. เครื่องหมายของเพศหญิง. อิตฺถีเวส+นิมิตฺต ลบ เวส. เครื่องหมาย ของความเป็นหญิง. อิตฺถีภาว+นิมิตฺต ลบ ภาว.
  46. อิติภวาภวกถา : (อิต.) เรื่องความเจริญและ ความเสื่อมด้วยประการนั้น ๆ
  47. อิทฺธ : (อิต.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จกิจนั้น ๆ, ฤทธิ์, เดช. อิธฺ วุฑฺฒิยํ, อิ, ทฺสํโยโค. คำฤทธิ์ ไทยใช้ในความหมายว่า อำนาจศักดิ์สิทธิ์ หรือการทำอะไร ๆ ได้พิเศษกว่าคนอื่น. ส. ฤทฺธิ.
  48. อิทฺธิ : อิต. ความเจริญ, ฤทธิ์
  49. อิทฺธิปาฏิหาริย : (นปุ.) ความอัศจรรย์อันเกิด จากความสำเร็จ, อิทธิปาฏิหาริย์ (สิ่งที่น่าอัศจรรย์ การแสดงฤทธิ์ได้เป็น อัศจรรย์).
  50. อิทฺธิปาท : (ปุ.) ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึง ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จ, คุณ เครื่องให้สำเร็จความประสงค์ตามเป้า หมาย, ปฏิปทาแห่งความสำเร็จ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | [3401-3450] | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3694

(0.0977 sec)