Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ค่า , then ค่, ค่ะ, คา, ค่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ค่า, 283 found, display 151-200
  1. อนุคามิก, อนุคามี : ค. ผู้ติดตาม, ผู้เดินตาม
  2. อปริโยคาหนา : (อิต.) ความสงสัย, ความคลางแคลง, ความไม่แน่ใจ.
  3. อวคาหน : นป. ดู อวคาห
  4. อสงฺคาหนา : อิต. ดู อสงฺคห
  5. อสิคฺคาหก : ค. ผู้ถือดาบ, ผู้ถือพระแสง
  6. อาคาริย : (วิ.) ผู้มีการงานอันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เรือน.
  7. อาคาริยสีล : (นปุ.) ศีลของคนครองเรือน.
  8. อาทานคาหี : (วิ.) ผู้ถือเอาด้วยความยึดถือ, ผู้ถืออย่างแน่นแฟ้น.
  9. อาธานคาหี : ป. คนดื้อด้าน, คนว่ายากสอนยาก
  10. อุคฺคาหก : ค. ผู้เรียน, ผู้ศึกษา
  11. อุทยตฺถคามินี : ค. ซึ่งเกิดขึ้นและเสื่อมไป
  12. อุปจฺจคา : ก. ล่วงไปแล้ว, ชนะได้แล้ว
  13. โอคาหน : นป. ดู โอคาห
  14. อุคาน : (นปุ.) การพัดขึ้น, ลมอุคาน (ลมพัด แรง). อุปุพฺโพ, คา คติยํ, ยุ.
  15. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  16. คาน : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป. คา คติยํ, ยุ.
  17. คาร : (ปุ.) ข่าว. คา สทฺเท, โร.
  18. คีวา : (อิต.) หนี้, สินไหม, สินใช้ (เป็นเหมือน เครื่องผูกคอไว้), คอ. วิ. คายติ เอตายาติ คีวา. คา สทฺเท, อีโว.
  19. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  20. กญฺจุกี : (ปุ.) คนใช้สำหรับฝ่ายใน, คนรับใช้ นางใน, คนแก่, เถ้าแก่. วิ. กญฺจุกํ โจฬํ, ตํโยคา กญฺจุกี. ณี ปัจ. ส. กญฺจุกิน.
  21. กฏน : นป. กรรมชั่ว, หญ้าคา, จาก
  22. กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ  คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
  23. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  24. กากณิกคฺฆนก : ค. มีราคากากณิกหนึ่ง
  25. กาทมฺพ : (ปุ.) นกกาน้ำ ตัวดำคล้ายนกกาแต่ คอยาวกว่า หากินในน้ำ, นกทิ้งทูดเท้งทูด ก็เรียก เป็นจำพวกนกทืดทือ, นกเค้าโมง เป็นนกหากินกลางคืน, นกกะลิง ปากดำตัว เขียว คล้ายนกแก้ว. กทมฺพโยคา กาทมฺโพ.
  26. กาเวรี : (อิต.) กาเวรี กเวรี ชื่อแม่น้ำสาย ๑ ใน ๕ สายของอินเดีย วิ. นานาคาหา กุลีภูตตาย กุจฺฉิตํ เวร มสฺสาติ กาเวรี. แม่น้ำ ๕ สายคือ จันทราคา สวัสวดี เนรัญชรา กาเวรี และนัมมทา แม่น้ำ ๕ สายอีกอย่าง ๑ ดู อจิรวตี.
  27. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  28. กุญฺชร : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กุญฺโช หนุ ทนฺโต จ, ตํโยคา กุญฺชโร. ร ปัจ. กํ ปฐ วึ ตทภิฆาเตน ชราเปตีติ วา กุญฺชโร. กุปุพฺโพ, ชรฺ วโยหานิมฺหิ, อ, อลุตฺตสมาโส อถวา, กุญฺเช คิริกูเฏ รมติ, โกญฺจนาทํ นทนฺโต วา จรตีติ วา กุญฺชโร. อภิฯ. รูปฯ ๓๘๕ วิ. กุญฺชา หนุ เอตสฺส สนฺตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. ร ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ วิ. กุญฺเช รมตีติ กุญฺชโร. กุญฺชปุพฺโพ, รมุ กีฬายํ, กฺวิ. ส. กุญฺชร.
  29. กุทณฺฑก : ป., นป. ตะโหงก, ไม้สองอันใช้หนีบคออย่างคา
  30. กุนฺตล : (ปุ.) ผม, ช้องผม. วิ. กุนฺตํ กุนฺตคฺคา การํ ลาตีติ กนฺตโล. กุนฺตสทฺทุปฺปทํ, ลา อาทาเน, อ. อถวา, กติ เฉทเน, อโล, อสฺสุตฺตํ. ส.กุนฺตล.
  31. กุสกณฺฏก, - กณฺฐก : นป. หน่อหญ้าคา
  32. กุสคฺค : นป. ปลายหญ้าคา
  33. กุสจีร : นป. ผ้าคากรอง, ผ้าที่ทำด้วยหญ้าคา
  34. กุสมุฏฐิ : อิต. หญ้าคาหนึ่งกำมือ
  35. กุส, - สก : ป. หญ้าคา, ข่า; สลาก
  36. กุสิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นดุจหญ้าคา, ผู้เกียจตร้าน. กุสปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. ผู้จมอยู่โดยอาการอันบัณฑิตพึงเกียด. กุจฺฉิต+สิต.
  37. เกสรี : (ปุ.) สิงโต, ราชสีห์, ไกสรี, ไกรสรี, ไกศรี, ไกรศรี. เกสรโยคา เกสรี. เกสา เอตสฺส สีหสฺส อตฺถีติ วา เกสรี. ส. เกศริน.
  38. โกปิน โกปีน : (นปุ.) ผ้าเปลือกไม้, ผ้าปิดของลับ, กรรมที่ไม่ควรทำ, ความลับ, ของลับ. มาตุคาโม ฉวสฺส มาสกรูปสฺส การณา โกปินํ ทสฺสติ. มาตุคาม แสดงของลับ เพราะเหตุปห่งทรัพย์ซึ่งเป็นดุจซากศพ. ไตร. ๓/๓๓.
  39. โกเลยฺยก : (วิ.) เกิดในตระกูล วิ. กุเล ชาโต โกเลยฺยโก. เณ ยฺยปัจ. ราคาทิตัล. ก สกัด.
  40. โกสุมฺภ : (นปุ.) ผ้าย้อมด้วยดอกคำ วิ. กุสุมฺเภน รตฺตํ โกสุมภํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  41. โขม : (นปุ.) ผ้าทอด้วยเปลือกไม้, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าขาว?, ผ้าป่าน, ผ้าใยไหม (ผ้า ลินิน), ผ้าโขมะ, โขมพัตถ์ (ผ้าทำด้วย เยื่อไม้). วิ. ตนุรุหํ ขายติ (ขุยฺยติ) อุตฺตมภาเวนาติ โขมํ. ขุ สทฺเท, โม. ขุมาย วา วิกาโร โขมํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  42. คงฺเคยฺย : (วิ.) เกิดในแม่น้ำคงคา, อยู่ในแม่น้ำ คงคา. วิ. คงฺคาย ชาโต คงฺเคยฺโย. คงฺคาย วสตีติ คงฺเคยฺโย. เณยฺย ปัจ. ราคาทิตัท. รูปฯ ๓๖๒.
  43. คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
  44. คห : (ปุ.) การจับ, การกุม, การจับกุม, การยึด, การถือ, การยึดถือ, เรือน, ป่า, หมู่ไม้, ยักษ์, ปลาฉลาม, จระเข้, นายขมังธนู, ดาวนพเคราะห์. คหฺ อุปาทาเน, อ. ดาว- นพเคราะห์ คือ สูโร อาทิจฺโจ วา, จนฺโท, องฺคาโร, วุโธ, โสโร, ชีโว, ราหุ, สุกโก, เกตุ. ส. ครฺห.
  45. คาม : (ปุ.) อันไป, การไป, การถึง, การต้อง. วิ. คมนํ คาโม. คมฺ คติยํ, โณ. การไปของ ช้างเป็นต้น. หตฺถาทีนํ คมนกฺริยา คาโม.
  46. คาหปจฺจ : (ปุ.) คาหปัจจะ ชื่อไฟอย่างหนึ่ง, ไฟอันประกอบด้วยพ่อเจ้าเรือน วิ. คหปตินา สํยุตฺโต อคฺคิ คาหปจฺโจ. ไฟอัน ควรบูชาคือ พ่อเจ้าเรือน. คหปติ ศัพท์ ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ปติ เป็น ปจฺจ.
  47. คิมฺห : (ปุ.) เดือนเกิดแล้วในฤดูร้อน วิ. คิเมฺห ชาโต คิโมฺห. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รุปฯ ๓๖๒.
  48. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  49. โคกุล : (นปุ.) คอกของโค, คอกโค, วิ. คาโว กุลนฺตฺยตฺราติ โคกุลํ. กุลฺ สํขฺยาเณ, อ. คุณฺณํ กุลํ ฆรํ วา โคกุลํ.
  50. โคจร : (วิ.) เป็นที่เที่ยวไปแห่งอินทรีย์ วิ. คาโว อินฺทฺริยานิ จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค. วิ. คาโว จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เที่ยวไป, ว่าย อุ. วาริโคจโร (ปลา) ว่ายในน้ำ. โคปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, อ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-283

(0.0362 sec)