Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ค่า , then ค่, ค่ะ, คา, ค่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ค่า, 283 found, display 201-250
  1. โคฏฺฐ : (นปุ.) ที่เป็นที่ดำรงอยู่ของโค, คอกโค. วิ. คาโว ติฏฺฐนฺตฺยตฺราติ โคฏฺฐ. โคสทฺทุปทํ. ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺสํโยโค. ดู คุฏฺฐ ด้วย.
  2. โคป : (ปุ.) คนผู้รักษาโค, คนเลี้ยงโค.วิ. คาโว ปาตีติ โคโป. โคปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, โณ. อถวา, คาโว ปาเลตีติ โคโป. ปาลฺ รกฺขเณ, กฺวิ.
  3. โคปก โคปาล โคปิล : (ปุ.) คนเลี้ยงสัตว์, คนเลี้ยงโค, นายโคบาล. วิ. คาโว ปาเลตีติ โคปาโล. ศัพท์ต้น โคบทหน้า ปาลฺ ธาตุ ณฺวุ ปัจ. ศัพท์ที่สอง ปาลฺ ธาตุ ณ ปัจ. ศัพท์ที่สาม ปาธาตุ อิล ปัจ.
  4. โคมนฺตุ : (วิ.) ผู้มีโค วิ. คาโว อสฺสาติ โคมา.
  5. โคมิก : (ปุ.) เจ้าของโค วิ. คาโว อสฺส อตฺถีติ โคมิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มฺ อาคม.
  6. โคลีส : (ปุ.) ไม้มวกใหญ่, ไม้สะคร้อ, ไม้ตะ โหนด. วิ. คาโว ลีหนฺตีติ โคลีโส. โคปุพฺ โพ, ลีหฺ อสฺสาทเน, อ, หสฺสโส.
  7. โคสขฺย โคสงฺขฺย : (ปุ.) คนเลี้ยงโค, คนเลี้ยง สัตว์, นายโคบาล. วิ. คาโว สํขฺยายตีติ โคสํโขฺย โคสงฺโขฺย วา. สํปุพฺโพ. ขฺยา คณเน,อ.
  8. โฆรวิส : (วิ.) มีพิษร้ายแรง, มีพิษกล้า. วิ. วิสํ อสฺส โฆรนฺติ โฆรวิโส ณ ปัจฺ ราคาทิตัท.
  9. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  10. จตุรงฺคินิ : (วิ.) (กองทัพ) มีองค์สี่ ( ช้าง ม้ารถ และพลเดินเท้า ) วิ. จตฺตาริ องฺคานิ ยสฺส วิชฺชนฺติ สา จตุรงฺคินี อี ปัจ. อินี อิต.
  11. จิกิจฺฉก : (ปุ.) บุคคลผู้เยียวยา, บุคคลผู้รักษา โรค, คนพยาบาล, หมอ, แพทย์ นาย แพทย์. กิตฺ โรคาปนยเน. ฉ ปัจ และ ณฺวุ ปัจ. เทว๎ภาวะ กิ แปลง กิ เป็น จิ แปลง ตฺ เป็น จฺ
  12. จิตฺต : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยฤกษ์จิตตา, เดือน จิตตะ, เดือนห้า. วิ. จิตฺตาย ยุตฺโต มาโส จิตฺโต. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  13. ฉตฺตปาณี : ป. ดู ฉตฺตคาหก
  14. ฉตฺตหตฺถ : ค. ดู ฉตฺตคาหก
  15. ฉินฺนก : (วิ.) ผ้าอัน...ตัดแล้ว วิ. ฉินฺนํ วตฺถํ ฉินฺนกํ, ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ก สกัด.
  16. ชงฺเคยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับแข้ง, ชังเคยยกะ ชื่อกระทงจีวร เมื่อห่มแล้วกระทงนี้จะอยู่ รอบแข้ง. ชงฺฆา ศัพท์ เณยฺยก ปัจ. แปลง ชงฺฆา เป็น ชงฺคา เป็น ชงฺเฆยฺยก โดยไม่ แปลงบ้าง
  17. ชมฺพว : (นปุ.) ผลชมพู่, ผลหว้า. วิ. ชมฺพุยา ผลํ ชมฺพวํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. พฤทธิ์ อู เป็น อว โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๙.
  18. ชานปท : (วิ.) ผู้อยู่ในชนบท วิ. ชนปเท วส- นฺตีติ ชานปทา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  19. ณฏฐ : (ปุ.) ชนผู้ตั้งอยู่ในความรู้, นักปราชญ์, บัณฑิต, ณัฏฐ์, ณัฐ. วิ. ญาณสฺมึ ฐิโตติ ณฏฺโฐ ญาณ+ฐ+ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  20. ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
  21. ทพฺภ : (ปุ.) หญ้าคา. ทุ ปริตาเป, อพฺโภ. แปลว่า ข่า ก็มี. เป็นทพฺภิ บ้าง.
  22. ทพฺภปุปฺผ, - พปุปฺผ : นป. ดอกหญ้าคา
  23. ทุกูล : (นปุ.) ผ้าทำด้วยเปลือกไม้ล ผ้าเปลือกไม้. วิ. ทุกฺเขน กุลยเตติ ทุกูลํ. ทุปุพฺโพ, กุลฺ อาหรเณ, อ. ทุเมหิ ชาตํ กูลนฺติ วา ทุกูลํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ผ้าสาณะ ก็แปล เป็น ทุกุล ก็มี.
  24. ทุวงฺค : (นปุ.) องค์สอง, สององค์. วิ. เทวฺ องฺคานิ ทุวงฺศํ. แปลง ทฺวิ เป็น ทุ วฺ อาคม.
  25. ทุหิตุ : (อิต.) ลูกหญิง, ธิดา, บุตรี. วิ. ทุหติ พนฺธเว ปูเรตีติ ทุหิตา. ทุหฺ ปปูรเณ, ราตุ, ราโลโป. อิอาคาโม. หรือลง ริตุ ปัจ. ลบ รฺ.
  26. ธมฺมราช : (ปุ.) พระราชาแห่งะรรม, พระราชาโดยธรรม, พญาโดยธรรม, พระธรรมราชาเป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ธมฺมสฺส ราชา ธมฺมราชา. ธมฺมสฺส วา ราชาปวคฺคกคฺคา ธมฺมราชา. ธมฺมเมน ราชตีติ วา ธมฺมราชา. ส. ธรฺมราช.
  27. โธรยฺห : (วิ.) ควรเพื่ออันนำไปซึ่งธุระ วิ, ธุรํ วหิตุ มรหตีติ โธโยฺห. ณ ปัจ, ราคาทิตัท.แปลง ว เป็น ย หรือลง ยฺห ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒ ลง ยฺหณฺ ปัจ. ผู้นำไปซึ่ง ธุระ วิ. ธุรํ วหตีติ โธรโยห.
  28. นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
  29. นิรตฺถ นิรตฺถก : (วิ.) มีประโยชน์ออกแล้ว, หาประโยชน์มิได้, ไม่มีประโยชน์, ปราศ จากประโยชน์, ไร้ประโยชน์, เปล่า. วิ. นตถิ อตฺโถ อสฺสาติ นิรตฺโถ นิรตฺถโก วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รู อาคม ศัพท์หลัง ก สกัด.
  30. ปตฺตงฺค : (วิ.) อันบุคคลย้อมแล้วด้วยจันทน์แดง วิ. ปตฺตงฺเคน รตฺตํ วตฺถํ ปตฺตงฺคํ ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  31. ปตฺถิว : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ปถวิยา อิสฺสโร ปตฺถิโว. ปถวี + ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ถ เป็น ตฺถ แปลง อ ที่ ถ เป็น อิ ลบ อี ที่ วี ลบ ณฺ เหลือ อ วฺ อาศัย อ.
  32. ปรกิย : (วิ.) นี้ของคนอื่น วิ. ปรสฺส อยนฺติ ปรกิโย. อิยปัจ. ราคาทิตัท.
  33. โปกฺขรณี : (อิต.) ตระพัง (บ่อน้ำ กระพัง. สะพังก็เรียก), ตระพังน้ำ (บ่อน้ำ), สระน้ำ, สระน้ำที่ตกแต่งสวยงาม, สระสี่เหลี่ยมจตุรัส, สระมีบัว, สระบัว, สระโบกขรณี. วิ. โปกฺขรํ ชลํ ปทุมญฺจ, ตํโยคา โปกฺขรณี. โปกฺขร+อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ อี อิต.
  34. โปฏฺฐปท โปฏฺฐปาท : (ปุ.) เดือน ๑๐, กันยายน. วิ. โปฏฺฐปทาย ปริปุณฺณนฺ-ทุยุตฺตาย ยุตฺโต มาโส โปฏฺฐปโท โปฏฺฐปาโท วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  35. โปราณ : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีในก่อน, อาจารย์ผู้เกิดแล้วในกาลก่อน, โบราณาจารย์. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  36. พริหิติณ พริหิส : (นปุ.) หญ้าคา, ข่า. วรหฺ ปาธานิยปริภาสนหีสาทาเนสุ, อิโส.
  37. พริหิส : นป. หญ้าคา; ข่า
  38. พิริหิ : (ปุ.) นกยูง วิ. วรหํ สิขณฺโฑ, ตํโยคา พริหิ.
  39. มาคธ : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในแว่นแคว้นมคธ, ผู้อยู่ในแว่นแคว้นมคธ, ผู้เป็นอิสระในแว่นแคว้นมคธ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  40. มาฆ : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยดาวฤกษ์ชื่อมฆา, เดือนมาฆะ, เดือน ๓, ภุมภาพันธ์, เดือนกุมภาพันธ์. วิ. มฆาย ปุณฺณจนฺทยุตฺตาย ยุตฺโต มาโส มาโฆ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  41. มาตุคาม : (ปุ.) อัตภาพมีบ้านดังบ้านแห่งมารดา, อัตภาพถึงซึ่งความเป็นผู้เสมอด้วยมารดา, ชนผู้เป็นไปเหมือนแม่, ชนผู้มีเพศแม่, หญิงชาวบ้าน, หญิง, ผู้หญิง, หญิงมนุษย์. วิ. มาตุยา คาโม วิย คาโม ยสฺสา สา มาตุคาโม. มาตา วิย คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. มาตุยา สมภาวํ มิสฺสีภาวญฺจ คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. คมุ คมเน, โณ. มาตา วิย คสตีติ วา มาตุคาโม. คสฺ อทเน, โณ, สสฺส โม. มาตา วิย คายตีติ วา มาตุคาโม. เค สทฺเท, โม. แปลง เอ เป็น อา.
  42. มาหิส : (วิ.) นี้ของกระบือ วิ. มหิสสฺส อิทํ มาหิสํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  43. มิคาร : (ปุ.) มิคาระ ชื่อเศรษฐี.
  44. รชสฺสลา : (อิต.) หญิงมีฤดู, หญิงมีระดู, หญิงถึงผ้า. วิ. รชโยคา รชสฺสลา. สล ปัจ.
  45. สภาค : (วิ.) เป็นไปกับด้วยส่วน. วิ. สห ภาเคน วตฺตตีติ สภาโค. ร่วมกัน, เท่ากัน, เข้ากันได้, อยู่พวกเดียวกัน, เหมือนกัน, มีส่วนเสมอ, มีส่วนเสมอกัน. วิ. สมาโน ภาโค เยสํ เต สภาคา.
  46. สมณุทฺเทศ : (ปุ.) สามเณร วิ. สมณลิงฺคาจารฺตฺตา สมโณ อยนฺติ อุทฺทิสิตพฺโพติ สมณุเททฺโส.
  47. สมฺมาสมฺพุทธฺ : (ปุ.) พระสัมมาสัมพุทธะ พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สมฺมา อวิปริเตน สํ อตฺตนา สมฺพธมฺเม อพุชฺฌีติ สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา ฯเปฯ พุชฺฌตีติ วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมาสํปุพฺโพ, พุธฺ, โพธเน, โต. สมฺมาสมฺโพธิโยคา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา สามํ พุทฺธตฺตา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ.
  48. สรณ : (นปุ.) สรณะชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. เยน จตฺตาโร มคฺคา โอธิโส กิเลเส สรนฺติ ตํ ธมฺมํ สรณํ. อริยานํ วสิตเคหตฺตา วา สรณํ. สรฺ หึสายํ, ยุ.
  49. สามญฺญผล : (นปุ.) ผลแห่งความเป็นสมณะ, สามัญผล ได้แก่โสดาปัติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตผล.
  50. สิขรี : (ปุ.) ศิลา, สีลา, สิขรโยคา สิขรี. อี ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-283

(0.0515 sec)