Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ที , then ทิ, ที .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ที, 226 found, display 201-226
  1. คภีร คมฺภีร : (วิ.) ลึก, ซึ้ง, ลึกซึ้ง, สุขุม. คมฺ คติยํ, อีโร. มฺโลโป, โภ สมฺโพเธ. ศัพท์ หลังคง มฺ ไว้. คจฺฉนฺตา ภายนฺติ อสฺมินฺติ คภีโร. โค วุจฺจติ ปฐวี, ตํ ภินฺทิตฺวา คจฺฉติ ปวตฺตตีติ วา. คมฺภีโร. ค ภิทิ ปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น มฺ ลบ ทิ ทีฆะ อิ เป็น อี ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. ส. คภฺภีร.
  2. ทิช : (วิ.) เจริญ, รุ่งเรือง, ส่องสว่าง, กระจ่าง, ขาว. ชุ ทิตฺติยํ, อ. เทว๎ภาวะ ชุ แปลง อุ เป็น อิ เป็น ชิ แปลง ชิ เป็น ทิ.
  3. ทินฺทิภ : (ปุ.) นกต้อยตีวิด, นกกระต้อยตีวิด, นกกระเรียน. ทิภฺ สนฺทพฺเภ, อ. เท๎วภาวะ ทิ นิคคหิตอาคม. นกตระกุม ก็แปล.
  4. สุทุทฺทส : (นปุ.) สุทุททสะ ชื่อพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. ปสฺสิตํ ุ สุทุกฺกรตาย สุททุทฺทสํ. สุ ทุ ปุพฺโพ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. แปลง อิ ที่ ทิ เป็น อ ซ้อน ทุ.
  5. อีติ : (อิต.) ธรรมชาติมาเพื่อความฉิบหาย, เสนียด, จัญไร, อุบาทว์, อันตราย. วิ. อนตฺถาย เอตีติ อีติ. อิ คมเน, ติ, ทีโฆ. แปลง ติ เป็น ทิ เป็น เอทิ บ้าง. ศัพท์กิริยา เอติ แปลว่า ย่อมมา มาจาก อาบทหน้า อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
  6. จตุจตฺตาฬีสโกฏิวิภว : (วิ.) ผู้มีโภคะอันบุคคล พึงเสวยมีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ เป็น ฉ. ตุล. มี อ. ทิคุ. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  7. จตุทฺทิส : (ปุ. นปุ.) ทิศสี่. อสมาหารทิคุ และ สมาหารทิคุ.
  8. จตุปญฺจนาฬิมตฺต : (วิ.) มีทะนานสี่และ ทะนานห้าเป็นประมาณ เป็น ฉ.ตุล. มี อ. ทิคุ,อ.ทิคุ. และ อ.ทวัน. เป็นท้อง.
  9. ฉตฺตึสโยชนปริมณฺฑล : (วิ.) มีปริมณฑลมี โยชน์สามสิบหกเป็นประมาณ เป็น ฉ. ตุล. มี อ. ทิคุ. และ ฉ. ตุล เป็นท้อง.
  10. ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
  11. ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา : (อิต.) เทวดาในจักรวาฬมีพันสิบหนเป็นประมาณ (เทวดา ในหมื่นจักรวาล) มี วิ. ดังนี้. – ส. ทิคุ. ทส สหสฺสานิ ทสสหสฺสํ. ฉ. ตุล. ทสสหสส ปมาณ เยส ตานิ ทสสหสฺสปมาณานิ (จกฺกวาฬานิ). ส. ตัป. ทสสหสฺสจกฺกวาเฬสุ เทวตา ทลสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา.
  12. ทิส : (ปุ.) ข้าศึก, ศัตรู. วิ. ทิสตีติ ทิโส. ทิสฺ อปปีติยํ, อ. ทุสฺสตีติ วา ทิโส. ทุสฺ โทสเน, อ. แปลง อุ เป็น อิ.
  13. เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งตระกูลแห่งพระญาติแปดสิบสองหน (แสนหกหมื่นตระกูล). เป็น อ. ทิคุ มี ฉ. ตัป., ฉ. ตัป. ผละ อ. ทิคุ เป็น ภายใน.
  14. เทสก เทสิก : (วิ.) ผู้แสดง, ผู้บรรยาย, ผู้ชี้แจง, ผู้สอน. ทิสฺ ทิสิ วา อุจจารเณ, ณวุ. ส. เทศก.
  15. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  16. เทสฺส เทสฺสี : (วิ.) เกลียด, ชัง, เกลียดชัง, ไม่ชอบใจ. ทิสิ อปฺปีติยํ, โณ.
  17. ธมฺมเทสฺสี : (วิ.) ผู้ชังซึ่งธรรม, ผู้ชังธรรม, ผู้เกลียดธรรม. ธมฺมปุพฺโพ, ทิสิ อปฺปีติยํ, อิ. ทีโฆ, อี วา.
  18. ธมฺมวินย : (ปุ.) ธรรมและวินัย, พระธรรมและพระวินัย, พระธรรมวินัย. วิ. ธมฺมโม จ วินโย จ ธมฺมวินโย. ส. ทิคุ. บทปลงไม่เป็น ธมฺมวินยํ หรือ ธมฺมวินยา เป็นลักษณะพิเสษของศัพทฺเหมือน ลาภสกฺกาโร.
  19. สมณุทฺเทศ : (ปุ.) สามเณร วิ. สมณลิงฺคาจารฺตฺตา สมโณ อยนฺติ อุทฺทิสิตพฺโพติ สมณุเททฺโส.
  20. อฏฺฐารสโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฎิสิบแปด เป็นประมาณ. อสมาหารทิคุ. กัม. อฏฺฐา รส โกฏิโย อฏฺฐารสโกฏิโย. ฉ. ตุล. อฏฺฐารสโกฏิโย ปมาณานิ ยสฺส ตํ อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ (ธนํ) วิเสสนบุพ. กัม. อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ ธนํ อฏฺฐารสโกฎธินํ. เป็นมัชเฌโลบ.
  21. อฏฺฐารสโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฎิสิบแปดเป็นประมาณ.อสมาหารทิคุ.กัม.อฏฺฐารสโกฏิโยอฏฺฐารสโกฏิโย.ฉ.ตุล.อฏฺฐารสโกฏิโยปมาณานิยสฺสตํอฏฺฐารสโกฏิปมาณํ(ธนํ)วิเสสนบุพ. กัม.อฏฺฐารสโกฏิปมาณํธนํอฏฺฐารสโกฎธินํ.เป็นมัชเฌโลบ.
  22. อปาจิ อปาจี : (อิต.) ทิศใต้ วิ. มชฺเฌ มหิยํ อณฺจติ ยสฺสํ ทิสายํ รวิ สา อปาจิ อปาจี วา. ส. อาปจฺ อปาจี อปาจีนฺ
  23. อาสนฺทิ : (อิต.) อาสันทิ ชื่อตั่งชนิดหนึ่ง, เก้าอี้สำหรับนั่งคนเดียว, เก้าอี้นอน. อาปุพฺโพ, สทฺ วิสรณคติอวสาเนสุ, อิ, พินฺทฺวาคโม.
  24. อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
  25. เอกชฺฌสมาทาน : (นปุ.) การถือเอาด้วยดี เป็นอันเดียวกัน, ฯลฯ, การสมาทานรวม กัน. การสมาทานมี ๒ อย่าง คือ สมาทาน แยกเป็นข้อ ๆ เรียกว่า ปัจเจกสมาทาน อย่างหนึ่ง การสมาทานรวมกัน เช่น กล่าวว่า พุทฺธปญฺญ ตฺตํ อุโปสถํ สมาทิยามิ. เรียกว่า เอกชฺฌสมาทาน อย่างหนึ่ง. ผู้สมา ทานล่วงสิกขาบทใดบทหนึ่ง เป็นอันขาด หมดทุกสิกขาบท (ศีลขาดหมดทุกข้อ).
  26. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-226]

(0.0507 sec)