Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ที , then ทิ, ที .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ที, 226 found, display 101-150
  1. นฎีตฎ : (ปุ.) ฝั่งแห่งแม่น้ำ, ตลิ่งชันแห่ง แม่น้ำ. นที+ตฎ แปลง ที เป็น ฏี.
  2. โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
  3. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  4. ที : (ปุ. นปุ.) เกาะชื่อของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมรอบและเล็กกว่าแผ่นดินที่เป็นทวีป.วิ.ทฺวิชาคตานิอาปานิอสฺมึเหตุภูเตติทีโป.แปลงทฺวิเป็นทิหรือลบวฺเหลือเป็นทิทีฆะเป็นทีลบอาและนที่อาปานรัสสะอาที่ปาอภิฯและฎีกาอภิฯ.ส.ทวีป.
  5. สินฺทิ : (อิต.) อินทผลัม, เป้ง ก็ว่า. สิทฺ โมจเน เ สฺนหเน จ, อิ, นิคฺคหิตาคโม. สนฺทฺ ปสวเน, อสฺสิ. เป็น สนฺที บ้าง?.
  6. โสตาปตฺติผลาทิ : (วิ.) (ผล) มีโสดาปัตติผล เป็นต้น. วิ โสตสฺส อาปตฺติ โสตาปตฺติ. โสตาปตฺติโต ชาตํ ผลํ โสตาปตฺติผลํ. โสตาปตฺติผลํ อาทิ เยสํ ตานิ โสตาปตฺติ ผลาทีนิ (ผลานิ).
  7. กฏิ : (อิต.) เอว, สะเอว, กะเอว, ตะโพก, สะโพก, ก้น, แท่ง. วิ. กฏฺยเต วตฺถาทีหี ติ กฏิ. กฏฺ สํวรเณ, อิ. ส. กฏิ.
  8. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  9. กาม : (อัพ. นิบาต) ก็ตาม, ก็ตามที, ส่วนเดียว, โดยส่วนเดียว, แท้, โดยแท้, ผิว่า, แม้, บ้าง.
  10. ขตฺติยกญฺญา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็น พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ขตฺติยา กญฺญา ขตฺติยกญฺญา ขตฺติยา เป็น ปุ. มาก่อน เมื่อเป็นบทปลงใช้เป็น ปุ. ตามเดิม เวลา แปล แปลเป็นอิต. ตามประธาน ถ้าศัพท์ ที่เป็นอิต. ก็เป็นอิตตามเดิม เช่น คงฺคานที เป็นต้น
  11. ขทิร : (ปุ.) ไม้ตะเคียน, ไม้พยอม, ไม้สะเดา. วิ. ขทนฺติ ทนฺตา อเนนาติ ขทิโร. ขทฺ หึสาเถริเยสุ, อิโร. ขาทียติ ปาณเกหีติ วา ขทิโร. ขาทฺ ภกฺเขเณ, โร, รสฺสตฺตํ, อสฺส อิตฺตญฺจ. แปลว่า ไม้สะแก ไม้สีเสียด ก็มี.
  12. ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
  13. เขท : (ปุ.) ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย, ความเป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โณ.
  14. ชมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชมฺปติ. ลบ ยา รัสสะ อาทีชา เป็น อ สังโยค ม. ส. ชมฺปตี.
  15. ชมฺพุที : (ปุ.) ชมพูทวีป ชื่อมหาทวีป ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ชมฺพุยา ปญฺญาโต ลกฺขิโต ทีโป ชมฺพุทีโป. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๓๖ เป็นชมพูทีป. ส. ชมฺพุทฺวีป.
  16. โถกโถก : อ. ทีละน้อยๆ
  17. ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
  18. ทานวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุสำหรับให้, วัตถุสำหรับให้ทาน, ทานวัตถุ. ทานวัตถุมี ๑๐ อย่าง คือ อนฺนํ ปานํ วตฺถํ ยานํ มาลาคนฺธํ (นับ ๒) วิเลปนํ เสยฺยาวสถํ (นับ ๒), ปทีเปยฺยํ.
  19. นาฬินฺธม : (ปุ.) ช่างทอง วิ. นาฬึ ธมติ มุเข วินฺยาสยิตฺวา มุขวายุนา อคฺคิทีปนตฺถํ สทฺทาปยตีติ นาฬินฺธโม, นาฬิปุพโพ, ธมฺ สทฺเท, อ. ส. นาฑินฺธม.
  20. นิชฺฌร : (ปุ.) การไหลไปแห่งน้ำ, ลำธาร, แม่น้ำ, น้ำตก. วิ. นิสฺสรณํ นิชฺฌโร. นิปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. แปลง ส เป็น ช แล้ว แปลง ช เป็น ชฺฌ ปพฺพตปาสาณาทีสุ อมฺพุโน ปสโว นิชฺฌโร นาม. เป็นนิฌร ก็มี. ส. นิรฺฌร.
  21. ปเคว : อ. ก่อนทีเดียว, จะกล่าวไปไยถึง
  22. ปถม : (วิ.) ก่อน, แรก, เบื้องต้น, ครั้งแรก, ทีแรก, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, ต้น, เบื้องต้น, เป็นประธาน. ดู ปฐม ด้วย.
  23. ปุรินฺทท : (ปุ.) ปุรินททะ ชื่อขอพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ปุเร ปุริมํ วา ททาตีติ ปุรินฺทโท. ปุเร ทานํ อททีติ วา ปุรินฺทโท. ปุรปุพฺโพ, ททฺ ทาเน, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อึ เป็น ปุรึ เอานิคคหิตเป็น นฺ
  24. ปูรณี : (วิ.) เป็นทีเต็ม.
  25. พินฺทุพินฺทุ : อ. หยดติ๋งๆ , หยดลงทีละหยาดๆ
  26. พิลงฺคทุติย : (วิ.) มีน้ำส้มเป็นทีสอง, มีน้ำส้มเป็นกับ.
  27. พุทฺธวส : (ปุ.) วงศ์ของพระ พุทธเจ้า , พุทธวงศ์. ไตร. ๓๓ ข้อ ๒ กล่าวถึงวงศ์ของพระพุทธเจ้าไว้ ๒๕ วงศ์ ๑. พระทีปังกร, ฯลฯ ๒๕ พระโคตมะ.
  28. ภณฺฑน : (นปุ.) การทะเลาะ, การทะเลาะกัน, การทุ่มเถียงกัน, การเถียงกัน, การแก่งแย่ง, การหมายมั่น, การด่า, การบริภาษ. ภฑิ ภณฺฑ ภณฺที ปริภาสเน, ยุ.
  29. ภินฺทิวาล ภินฺทิวาฬ : (ปุ.) ภินทิวาล ภินทิวาฬ ชื่อหอกชนิดหนึ่ง วิ. ภินฺทนสีลตาย ภินฺที, วาติ คจฺฉติ อเนนาติ วาโล. วา คติยํ, อโล. ภินฺที จ โส วาโล เจติ ภินฺทิวาโล ภินฺทิวาโฬ วา รัสสะ อี เป็น อิ ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  30. รจฺฉา : (อิต.) ถนน, ทาง, ทางเดิน, ตรอก, รอย, รอยขีด. วิ. รถสฺส หิตา รจฺฉา รทียติ ปถิเกหีติ วา รจฺฉา. รทฺ วิเลขเณ, โฉ. รทิตพฺพาติ วา รจฺฉา, รทนํ วิเลขนํ วา รจฺฉา.
  31. วินิมย : ป. ถ้อยทีถ้อยปฎิบัติต่อกัน
  32. สิกฺกา : (อิต.) สาแหรก วิ. กาเช อวลมฺพนํ เวตฺตาทีวิกติ สิกฺกา นาม. สกฺ สตฺติยํ, โก, อสฺส อิ.
  33. สีวล สีวิย : (วิ.) มีความงาม, ฯลฯ. สิว+ล, อิย ปัจ. ทีฆะ อิ ที่ สิ เป็น อี โมคฯ ณาทีภัณฑ์ ๕๘.
  34. สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
  35. หณุ หนุ หนุกา : (อิต.) คาง. วิ. หนฺติ โอทนาทีสุ วณฺณวิเสสํ นาเสตีติ หณฺ หนุ วา. โภชนํ หนติ เอเตนาติ หณุ หนุ วา. หนฺ หึสายํ, อุ. อภิฯ. รูปฯ ๖๖๕ ลง ณุ, นุ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้นคง ณุ ไว้ ศัพท์ที่ ๓ ลง ก สกัด อา อิต. ส. หนุ.
  36. หนฺท : (อัพ. นิบาต) ก็, เชิญเถิด, เอาเถิด, เอาเถอะ, ช่างเถอะ, ช่างเถิด, วานทีเถิด, ช่วยทีเถิด, ผิดังนั้น, ทำกระไร.
  37. หิม : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น, ฤดูหนาว, น้ำค้าง, หิมะ ชื่อละอองน้ำที่แข็งรัดตัว มีลักษณะเหมือนปุย. วิ. หึสตีติ หิมํ. หึสฺ หึสายํ, อ, สสฺส โม, นิคฺคหิตโลโป. อตฺตโน สีตลภาเวน สตฺเต หิโนตีติ หิมํ. หิ หึลายํ, อิโม. หิโนตีติ หิมํ. หิ คติยํ. อภิฯ ปถวีปพฺพตาทีสุ หิโนติ ปตตีติ หิโม. หิ คติยํ, โม. กัจฯ และ รูปฯ ลง ม ปัจ. และเป็น ปุ.
  38. อคฺค : (วิ.) มาก, ยอด, ยิ่ง, ดียิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, วิเศษ, เป็นประธาน, ก่อน, แรก, หัวปี (ทีแรก เกิดก่อน), เอก, สูง, สูงสุด.วิ.อชติคจฺฉติเสฏฐภาวนฺติอคฺโค. อชฺ คมเน, อ, ชสฺส โค. คปจฺจโย วา. ส. อคฺร.
  39. อตฺถุ : (อัพ. นิบาต) จงยกไว้, ก็ตามแต่ ก็ตามที(ตอบอย่างไมม่พอใจ), โดยแท้.
  40. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  41. อโนตปฺปอโนตฺตปฺป : (นปุ.) ความไม่เกรงกลัว, ความไม่สะดุ้ง, ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาปทุจจริต.วิ. น โอตฺตปฺปตีติอโนตฺตปฺปํ.วิปัสสนาทีปนีฏีกา.
  42. อโนตปฺป อโนตฺตปฺป : (นปุ.) ความไม่เกรงกลัว, ความไม่สะดุ้ง, ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป ทุจจริต. วิ. น โอตฺตปฺปตีติ อโนตฺตปฺปํ. วิปัสสนาทีปนีฏีกา.
  43. อมรโคยาน : (นปุ.) อมรโคยานะชื่อของทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป.ทวีปทั้ง ๔ คือปุพพวิ-เทหะอมรโคยานะชมพูทีปะ และอุตตรกุรุ
  44. อาจริยุปชฺฌายวตฺตาทิ : (วิ.) มีวัตรอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์และวัตรอันสัทธิวิหาริกพึงทำแก่พระอุปชฌายะเป็นต้น มี วิ. ตามลำดับดังนี้.จ. ตัป อาจริยสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอาจริยวตฺตํ.จ. ตัปอุปชฺฌายสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอุปชฺฌายวตฺตํ.อ. ทวัน. อาจริยวตฺตญฺจอุปชฺฌายวตฺตญฺจอาจริยุปชฺฌายวตฺตานิ.ฉ. ตุล. อาจริยุปปชฺฌายวตฺตานิอาทีนิเยสํตานิอาจริยุปชฺฌายวตฺตาทีนิ (วตฺตานิ).
  45. อาลมฺพ : (ปุ.) อารมณ์.วิ.จิตฺตเจตสิเกหิอาลมฺพียเตติอาลมฺโพ.ลมฺพนฺติเอตฺถรูปาทีสูติวาอาลมฺโพ.อาปุพฺโพ, ลพิอวสํสเน, อ.
  46. อาหารตฺถก : (ปุ.) อาหารัตถกะ ชื่อคน คนใด บริโภคอาหารจนไม่อาจลุกขึ้นได้โดยธรรมดาของตน จึงกล่าวว่าฉุดมือทีคนนั้น ชื่อ อาหารัตถกะ.
  47. อินฺทีวร : (ปุ.) ต้นราชพฤกษ์, ต้นคูน. วิ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรติ วาตหณเนติ อินฺทีวโร. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อีวโร.
  48. อุคฺฆฏิตญฺญู : ค. ผู้พอยกขึ้นแสดงก็รู้ทันที, ผู้มีปัญญาเฉียบแหลม
  49. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  50. อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-226

(0.0554 sec)