Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปรม , then บรม, ปรม, ปรมา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ปรม, 2 found, display 1-2

Thai-Eng Lexitron Dict : ปรม, more than 7 found, display 1-7
  1. ปริ่ม : (V) ; be flush with ; Related:(be) brim with, be almost full ; Syn:เปี่ยม, เต็ม, เสมอขอบ, เสมอพื้น ; Def:ในลักษณะอย่างน้ำที่ขึ้นเสมอขอบตลิ่งหรือดอกบัวที่โผล่ขึ้นเสมอพื้นน้ำเป็นต้น ; Samp:อย่ารินน้ำใส่ชามจนปริ่มเพราะจะหก
  2. ปริ่ม : (V) ; be pleased ; Related:be delighted, be glad, be brimful of ; Syn:ปริ่มใจ, ปริ่มยิ้ม, ปริ่มเปรม, ปรีดิ์เปรม, ยินดี, ปลื้มใจ ; Def:อาการที่มีความยินดีปลื้มใจ ; Samp:หัวใจของเธอปริ่มเปรมไปด้วยความสุข
  3. เจิ่ง : (V) ; flood ; Related:overflow, inundate, be in spate ; Syn:นอง, ล้น, ปริ่ม, เอ่อ, เปี่ยม ; Ant:แห้ง ; Def:แผ่ไปมากกว่าปกติ (ใช้แก่น้ำ) ; Samp:พอฝนตกน้ำก็เจิ่งไปทั่ว
  4. เปี่ยม : (V) ; be fraught ; Related:be replete, be full be flush with (the deck), (of a glass) to be brimful, to fill to the brim, flush (with wealth), full (of happiness ; Syn:ปริ่ม, เต็ม, เต็มที่, เอ่อ, ปรี่, เจิ่ง, เต็มขอบ, เต็มฝั่ง, บริบูรณ์ ; Ant:เหือด, แห้ง ; Samp:ความรู้สึกของเขาช่างเปี่ยมด้วยความสุขเหลือคณา
  5. แประ : (V) ; brim ; Related:fully loaded, filled to the brim ; Syn:เพียบ, ปริ่ม, แปล้ ; Def:เพียบจวนจะจม ; Samp:เรือบรรทุกของจนแประแล้ว อย่าเอาสัมภาระใส่เพิ่มอีกเลย
  6. บรมสุข : (ADV) ; blissfully (happy) ; Related:supremely (happy) ; Ant:บรมทุกข์ ; Def:เป็นสุขมาก, มีความสุขมาก ; Samp:เขาดำเนินชีวิตอย่างบรมสุข
  7. มหาบพิตร : (PRON) ; Your Majesty ; Syn:บรมบพิตร ; Def:เดิมเป็นคำพระสงฆ์ใช้สำหรับแทนพระนามพระเจ้าแผ่นดินหรือพระมเหสี ; Samp:อาตมาขอถวายพระพรแด่มหาบพิตร
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ปรม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ปรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ปรม- : [ปะระมะ-, ปอระมะ-] ว. อย่างยิ่ง (ใช้นําหน้าคําอื่นโดยมาก). (ป.).
  2. ปริ่ม : [ปฺริ่ม] ว. เสมอขอบ, เสมอพื้น, (ในลักษณะอย่างนํ้าที่ขึ้นเสมอขอบ ตลิ่งหรือดอกบัวที่โผล่ขึ้นเสมอพื้นนํ้าเป็นต้น); อาการที่มีความยินดี ปลื้มใจ เช่น ปริ่มใจ ปริ่มยิ้ม ปริ่มเปรม.
  3. บรม, บรม- : [บอรมมะ-] ว. อย่างยิ่ง, ที่สุด, (มักใช้นําหน้าคําที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า พระเจ้าแผ่นดิน และพระอัครมเหสี เป็นต้น เพื่อแสดงพระเกียรติยศ ยิ่งใหญ่) เช่น บรมศาสดา บรมบพิตร บรมราชินี บรมมหาราชวัง. (ป., ส. ปรม); (ปาก) อย่างที่สุด เช่น ขี้เกียจบรม บรมขี้เกียจ.
  4. ปรมัตถ์ : ดู ปรม-.
  5. ปรมาจารย์ : ดู ปรม-.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ปรม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ปรม, 8 found, display 1-8
  1. บรม : อย่างยิ่ง, ที่สุด
  2. บรมพุทโธบาย : อุบาย คือ วิธีของพระพุทธเจ้าผู้ยอดเยี่ยม จากศัพท์ว่าบรม (ปรม) + พุทธ (พุทฺธ) + อุบาย (อุปาย)
  3. บรมศาสดา : ศาสดาที่ยอดเยี่ยม, พระผู้เป็นครูที่สูงสุด, พระบรมครู หมายถึง พระพุทธเจ้า
  4. บรมสุข : สุขอย่างยิ่ง ได้แก่ พระนิพพาน
  5. บุพพสิกขาวัณณนา : หนังสืออธิบายพระวินัย พระอมราภิรักขิต (อมร เกิด) วัดบรมนิวาส เป็นผู้แต่ง
  6. ปรมาตมัน : อาตมันสูงสุด หรออัตตาสูงสุด (บรมอาตมัน หรือ บรมอัตตา) เป็นสภาวะแท้จริง และเป็นจุดหมายสูงสุดตามหลักความเชื่อของศาสนาฮินดู (เดิมคือศาสนาพราหมณ์) ซึ่งถือว่า ในบุคคลแต่ละคนนี้ มีอาตมัน คือ อัตตาหรือตัวตน สิงสู่อยู่ครอง เป็นสภาวะเที่ยงแท้ถาวรเป็นผู้คิดผู้นึก ผู้เสวยเวทนา เป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนย่อยที่แบ่งภาคออกมาจากปรมาตมันนั้นเอง เมื่อคนตาย อาตมันนี้ออกจากร่างไป สิงอยู่ในร่างอื่นต่อไป เหมือนถอดเสื้อผ้าเก่าสวมเสื้อผ้าใหม่ หรือออกจากเรือนเก่าไปอยู่ในเรือนใหม่ ได้เสวยสุขหรือทุกข์ เป็นต้น สุดแต่กรรมที่ได้ทำไว้ เวียนว่ายตายเกิดเรื่อยไป จนกว่าจะตระหนักรู้ว่าตนเองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับปรมาตมัน และเข้าถึงความบริสุทธิ์จากบาปโดยสิ้นเชิง จึงจะได้กลับเข้ารวมกับปรมาตมันดังเดิม ไม่เวียนตายเวียนเกิดอีกต่อไป, ปรมาตมันนี้ ก็คือ พรหม หรือ พรหมัน นั่นเอง
  7. วินัยมุข : มุขแห่งวินัย, หลักใหญ่ๆ หรือหัวข้อสำคัญๆ ทีเป็นเบื้องต้นแห่งพระวินัย หรือเป็นปากทางนำเข้าสู่วินัยเป็นชื่อหนังสือที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสทรงรจนาขึ้น เพื่อชี้ประโยชน์แห่งพระวินัยมุ่งช่วยให้พระภิกษุสามเณรตั้งอยู่ในปฏิบัติพองาม ผู้ไม่เคร่งจะได้รู้จักสำรวมรักษามรรยาทสมเป็นสมณะฝ่ายผู้เคร่งครัดเกินไปจะได้หายงมงาย ไม่สำคัญตนว่าดีกว่าผู้อื่น ตั้งรังเกียจผู้อื่นเพราะเหตุผลเล็กน้อย เพียงสักว่าธรรมเนียมหรือแม้ชักนำผู้อื่นในปฏิบัติอันดี ต่างจะได้อานิสงส์คือไม่มีวิปฏิสาร; ทรงมุ่งหมายเพื่อจะแต่งแก้หนังสือบุพพสิกขาวัณณนาของพระอมราภิรักขิต (อมร เกิด) เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส; จัดพิมพ์เป็น ๓ เล่ม ใช้เป็นแบบเรียนนักธรรมชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอก ตามลำดับ
  8. อุปาลิวงศ์ : ชื่อนิกายพระสงฆ์ลังกาที่บวชจากพระสงฆ์สยาม (พระอุบาลีเป็นหัวหน้า นำคณะสงฆ์ไทยไปอุปสมบทกุลบุตรในประเทศลังกา เมื่อพ) ศ) ๒๒๙๖ ในแผ่นดินพระเจ้าอยู่หัวบรมโกษฐ์ สมัยอยุธยาตอนปลาย)

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
  2. ปรมตฺต : (ปุ.) ตนอย่างยิ่ง. ปรม+อตฺต.
  3. ปรมฏฺฐ : กิต. (อันเขา) ถูกต้องแล้ว, จับต้องแล้ว, ลูบคลำแล้ว, ยึดมั่นแล้ว, กอดรัดแล้ว
  4. ปรมตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์อย่างยิ่ง, เนื้อความอย่างยิ่ง, ความอย่างยิ่ง, ฯลฯ, อรรถอย่าง ยิ่ง, ปรมัตถ์ คือพระอภิธรรม.
  5. ปรมตฺถคติ : อิต. คติอันสูงสุด, ทางไปแห่งชีวิตอันยอดเยี่ยม ได้แก่ ปนุปาทิเสสนิพพาน
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ปรม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ปรม, not found

(0.1213 sec)