Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มัง , then มง, มํ, มัง .

Eng-Thai Lexitron Dict : มัง, 2 found, display 1-2
  1. at cross purposes : (IDM) ; (มุ่ง) คนละทาง ; Related:(มุ่ง) คนละเรื่อง
  2. bound 2 : (VI) ; มุ่งหน้า ; Related:มุ่ง, ตรงไปยัง

Thai-Eng Lexitron Dict : มัง, more than 7 found, display 1-7
  1. มัง : (END) ; perhaps ; Related:most likely, likely as not ; Syn:กระมัง ; Def:คำแสดงความไม่แน่ใจ, คำแสดงความคาดคะเน, (ใช้ไว้ท้ายประโยค) ; Samp:เขาคงไม่อยากไปมัง จึงไม่เห็นตกปากรับคำอะไร
  2. มัง : (END) ; perhaps ; Related:most likely, likely as not ; Syn:กระมัง ; Def:คำแสดงความไม่แน่ใจ, คำแสดงความคาดคะเน, (ใช้ไว้ท้ายประโยค) ; Samp:เขาคงไม่อยากไปมัง จึงไม่เห็นตกปากรับคำอะไร
  3. มังคุค : (N) ; mangosteen ; Related:Garcinia mangostana Linn. ; Syn:ต้นมังคุด, ผลมังคุด, ลูกมังคุด ; Def:ชื่อไม้ต้นชนิด Garcinia mangostana Linn. ในวงศ์ Guttiferae ผลกลม เมื่อแก่สีแดงคล้ำ เปลือกมีรสฝาดใช้ทำยาได้ เนื้อในขาว รสหวานอมเปรี้ยว ; Samp:คืนวันผ่านไป มังคุดทิ้งดอกลงหมดต้น เหลือแต่ผลเล็กๆ ติดลูกสีเขียวตามกิ่งใบ ; Unit:ต้น, ผล, ลูก
  4. กระมัง : (ADV) ; like as not ; Related:perhaps, maybe, probably ; Syn:มั๊ง, มัง ; Def:คำแสดงความไม่แน่ใจ, คำแสดงความคาดคะเน ; Samp:เหตุที่คนงานบางคนมาสายนั้นคงเป็นเพราะรถติดกระมัง
  5. เงาะ : (N) ; Negrito ; Related:Semang ; Syn:คนป่า, ซาไก, เซมัง ; Def:คนป่าพวกหนึ่ง รูปร่างต่ำเตี้ย ตัวดำ ผมหยิก อยู่ในตระกูลนิกริโต (Negrito) อยู่ในแหลมมลายู เรียกตัวเองว่า กอย ได้แก่พวกเซมัง และซาไก หรือเซนอยม โดยปริยายเรียกคนที่มีรูปร่างเช่นนั้น ; Samp:ฉันเคยเห็นพวกเงาะที่จังหวัดสตูล ; Unit:คน
  6. งาบๆ : (ADV) ; gapingly ; Related:yawningly ; Syn:พะงาบๆ ; Def:อาการที่อ้าปากแล้วหุบเข้าช้าๆ (เป็นอาการของคนและสัตว์ที่จวนจะตาย) ; Samp:ปลาอ้าปากงาบๆ อยู่ในกะละมังทั้งๆ ที่ถูกตัดไปแล้วครึ่งตัว
  7. ซักผ้า : (V) ; wash ; Related:do one's washing ; Def:ทำความสะอาดเสื้อผ้าด้วยน้ำกับผงซักฟอก เป็นต้น ; Samp:ฉันต้องซักผ้า 2 กะละมังใหญ่ๆ ไปไหนไม่ได้หรอก
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : มัง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : มัง, more than 5 found, display 1-5
  1. มังหงัน : น. ดอกมะพร้าว. (ช.).
  2. รัชมังคลาภิเษก : น. พระราชพิธีสมโภชเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงครอง ราชสมบัติได้นานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อน ๆ.
  3. กะ- ๕ : พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคําซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อ สละสลวยหรือเน้นคําให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น โดยแยกเอาตัวสะกดในแม่กกแห่งคํา หน้ามานํา เช่น นกยาง เป็น นก-กะยาง, ผักโฉม เป็น ผัก-กะโฉม, ลูกดุม เป็น ลูก-กะดุม. ต่อไปนี้เป็นคําที่ขึ้นด้วยพยางค์ กะ- ซึ่งเคยใช้เป็นกระ- ได้, ให้ดูคําแปลที่ กระ- นั้น ๆ คือ :- กะเกริก, กะเกริ่น. กะง่อนกะแง่น, กะเง้ากะงอด. กะจก, กะจ้อน, กะจ้อยร่อย, กะจะ, กะจัง, กะจับ, กะจับปิ้ง, กะจับปี่, กะจ่า, กะจาด, กะจาบ, กะจิบ, กะจิริด, กะจี้, กะจุก, กะจุ๋งกะจิ๋ง, กะจุบ, กะจุ๋มกะจิ๋ม, กะจุย, กะจู้, กะจู๋กะจี๋, กะเจอะกะเจิง, กะเจา, กะเจ้า, กะเจาะ, กะเจิง, กะเจิดกะเจิง, กะเจี้ยง, กะเจี๊ยบ, กะเจียว, กะแจะ, กะโจน, กะโจม. กะฉอก, กะฉ่อน, กะฉับกะเฉง, กะฉีก, กะฉูด, กะเฉด, กะโฉม. กะชดกะช้อย, กะชอน, กะชั้น, กะชับ, กะชาก, กะชาย, กะชุ, กะชุ่มกะชวย, กะแชง. กะซิก, กะซิบ, กะซุง, กะซุบกะซิบ, กะเซ็น, กะเซอ, กะเซอะกะเซอ, กะเซอะกะเซิง, กะเซ้า, กะเซิง, กะแซะ. กะดก, กะด้ง, กะดวง, กะดวน, กะด้วมกะเดี้ยม, กะดอ, กะดอง, กะดอน, กะดอม, กะดักกะเดี้ย, กะดังงา, กะดาก, กะด้าง, กะดางลาง, กะดาน, กะดิก, กะดิ่ง, กะดิบ, กะดี่, กะดี้, กะดี้กะเดียม, กะดึง, กะดุกกะดิก, กะดุ้งกะดิ้ง, กะดุบกะดิบ, กะดุม, กะดูก, กะเด็น, กะเด้า, กะเดาะ, กะเดิด, กะเดียด, กะเดือก, กะเดื่อง, กะแด็ก ๆ, กะแด้แร่, กะแด่ว, กะแดะ, กะโดก, กะโดด, กะโดน, กะได. กะตรกกะตรํา, กะต้อ, กะตรับ, กะตรุม, กะต้วมกะเตี้ยม, กะต่องกะแต่ง, กะต๊อบ, กะต้อยตีวิด, กะตัก, กะตั้ว, กะต่าย, กะติก, กะตือรือร้น, กะตุก, กะตุกกะติก, กะตุ้งกะติ้ง, กะตุ้น, กะเตง, กะเต็น, กะเตอะ, กะเตาะ, กะเตาะกะแตะ, กะเตื้อง, กะแต, กะโตกกะตาก. กะถด, กะถั่ว, กะถาง, กะถิก, กะถิน, กะเถิบ, กะโถน. กะทง, กะทบ, กะทอก, กะท่อนกะแท่น, กะท่อม, กะท้อมกะแท้ม, กะทะ, กะทั่ง, กะทั่งติด, กะทา, กะทาย, กะทาหอง, กะทํา, กะทิง, กะทึง, กะทืบ, กะทุง, กะทุ้ง, กะทุ่ม, กะทุ่มหมู, กะทู้, กะเท่, กะเทียม, กะแทก. กะนั้น, กะนี้, กะโน้น, กะไน. กะบก, กะบวย, กะบะ, กะบั้วกะเบี้ย, กะบาก, กะบาย, กะบิ, กะบิด, กะบี่, กะบุง, กะบุ่มกะบ่าม, กะบู้กะบี้, กะบูน, กะเบน, กะเบา, กะเบียด, กะเบียน, กะเบื้อง, กะแบกงา, กะแบะ. กะปรี้กะเปร่า, กะป้อกะแป้, กะป๋อง, กะปอดกะแปด, กะปั้วกะเปี้ย, กะป่ำ, กะปุก, กะปุ่มกะป่ำ, กะเป๋า, กะเปาะ, กะโปก. กะผลีกะผลาม, กะผีก. กะพอก, กะพอง, กะพัก, กะพัง, กะพังเหิร, กะพังโหม, กะพัน, กะพี้, กะพือ, กะพุ้ง, กะเพาะ, กะเพิง, กะเพื่อม. กะฟัดกะเฟียด, กะฟูมกะฟาย. กะมัง, กะมิดกะเมี้ยน, กะเมาะ. กะย่องกะแย่ง, กะย่อม, กะยาง, กะยาหงัน, กะยิ้มกะย่อง, กะยืดกะยาด. กะรอก, กะเรียน, กะไร. กะลําพัก, กะลําพุก, กะลุมพุก, กะลุมพู. กะวาน, กะวิน, กะวีกะวาด, กะวูดกะวาด, กะเวยกะวาย, กะแวน. กะสง, กะสม, กะสร้อย, กะสวน, กะสวย, กะสอบ, กะสัง, กะสัน, กะสับกะส่าย, กะสา, กะสาบ, กะสาย, กะสือ, กะสุน, กะสูบ, กะเสด, กะเส็นกะสาย, กะเส่า, กะเสาะกะแสะ, กะเสือกกะสน, กะแสง, กะแสะ. กะหนก, กะหนาบ, กะหมั่ง, กะหัง, กะหึม, กะหืดกะหอบ, กะแห, กะแหน่, กะแหนะ, กะโห้. กะอ้อกะแอ้, กะออดกะแอด, กะออม, กะอ้อมกะแอ้ม, กะแอก, กะแอม, กะไอ.
  4. เงาะ ๑ : น. คนป่าพวกหนึ่ง รูปร่างตํ่าเตี้ย ตัวดํา ผมหยิก ในตระกูลนิกริโต (Negrito) และตระกูลออสโตรเนเชียน (Austronesian) อยู่ในแหลมมลายู เรียกตัวเองว่า กอย ได้แก่ พวกเซมัง และซาไกหรือเซนอย, โดยปริยายเรียกคนที่มี รูปร่างเช่นนั้น.
  5. มังการ : [มะมังกาน] น. ความถือว่าเป็นของเรา. (ป.).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : มัง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : มัง, 3 found, display 1-3
  1. ลาสิกขา : ปฏิญญาตนเป็นผู้อื่นจากภิกษุต่อหน้าภิกษุด้วยกัน หรือต่อหน้าบุคคลอื่นผู้เข้าใจความ แล้วละเพศภิกษุเสีย ถือเพศที่ปฏิญญานั้น, ละเพศภิกษุสามเณร, สึก ; คำลาสิกขาที่ใช้ในบัดนี้ คือ ตั้ง “นโม ฯลฯ” ๓ จบ แล้วกล่าวว่า “สิกขัง ปัจจักขามิ. คิหีติ มัง ธาเรถะ” (ว่า ๓ ครั้ง) แปลว่า “กระผมลาสิกขา, ขอท่านทั้งหลายจงทรงจำกระผมไว้ว่าเป็นคฤหัสถ์” (คิหีติ ออกเสียงเป็น คิฮีติ)
  2. ปวารณา : 1. ยอมให้ขอ, เปิดโอกาสให้ข้อ 2.ยอมให้ว่ากล่าวตักเตือน, เปิดโอกาสให้ว่ากล่าวตักเตือน, ชื่อสังฆกรรมที่พระสงฆ์ทำในวันสุดท้ายแห่งการจำพรรษา คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ เรียกว่าวันมหาปวารณา โดยภิกษุทุกรูปจะกล่าวปวารณา คือ เปิดโอกาสให้กันและกันว่ากล่าวตักเตือน ได้ดังนี้ “สงฺฆมฺภนฺเต ปวาเรมิ, ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา; วทนฺตุ มํ, อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย; ปสฺสนฺโต ปฏิกฺกริสฺสามิ. ทุติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ ปวาเรมิ,..... ตติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ ปวาเรมิ,.......” แปลวว่า “ข้าพเจ้าขอปวารณกะสงฆ์ ด้วยได้เห็นก็ตาม ด้วยได้ยินก็ตาม ด้วยน่าระแวงสงสัยก็ตาม, ขอท่านผู้มีอายุทั้งหลายจงว่ากล่าวกะข้าพเจ้าด้วยอาศัยความหวังดี, เอ็นดู, เมื่อข้าพเจ้ามองเห็น จักแก้ไขแม้ครั้งที่สอง.........แม้ครั้งที่สาม.......” (ภิกษุผู้มีพรรษาสูงสุดในที่ประชุมว่า อาวุโส แทน ภนฺเต)
  3. อามิสทายาท : ทายาทแห่งอามิส, ผู้รับมรดกอามิส, ผู้รับเอาสมบัติทางวัตถุ เช่น ปัจจัย ๔ จากพระพุทธเจ้ามาเสพเสวย ด้วยอาศัยผลแห่งพุทธกิจ ที่ได้ทรงบำเพ็ญไว้; โดยตรง หมายถึง รับเอาปัจจัย ๔ มาบริโภค โดยอ้อมหมายถึง ทำกุศลที่นำไปสู่วัฏฏะเช่นให้ทานบำเพ็ญฌานสมาบัติ ด้วยมงหมายมนุษยสมบัติและเทวสมบัติ; พระพุทธเจ้าตรัสสอนภิกษุทั้งหลาย ให้เป็นธรรมทายาท มิให้เป็นอามิสทายาท เทียบ ธรรมทายาท

ETipitaka Pali-Thai Dict : มัง, 10 found, display 1-10
  1. มนฺธาตุ : (ปุ.) มันธาตุ ชื่อของพระราชา, พระราชาพระนามว่ามันธาตุ, พระเจ้ามันธาตุราช ชื่อของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งสามารถบันดานให้ฝนตกเป็น กหาปณะ มํ+ธาตุ (ผู้ทรงไว้ซึ่งสิริ).
  2. สริกฺข สริกฺขก : (วิ.) อัน...เห็นเสมอ, อัน...เห็นสม, อัน...พึงเห็นเสมอ. วิ. สมานมิว มํ ปสสิตพฺโพติ สริกฺโข สริกฺขโก วา. คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เหมือนกัน. วิ. สมาน มิว นํ ปสฺสตีติ สริกฺโข สริกฺขโก วา. สมานสฺส โส, ทิสฺธาตุยา ริกฺโข. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  3. กาม : (วิ.) ใคร่, ยินดี, รัก รักใคร่, ชอบใจ, พอใจ, หวัง, ต้องการ, มุ่ง, อยากได้, ปรารถนา.
  4. นมม : (นปุ.) ความสุข. นมมํ + ย ปัจ.
  5. นมมทา : (อิต.) นัมมทา ชื่อแม่น้ำสายที่ห้าใน สาย. วิ. นมมํ สุขํ ททาตีติ นมมทา (ให้ความสุข).
  6. เปกฺข : (วิ.) ดู, เห็น, ปรากฏ, เพ่ง, มุ่ง, จดจ่อ. ป+อิกฺขฺ+ณ ปัจ.
  7. มค : (ปุ.) เนื้อ, กวาง, จามจุรี. วิ. มคยติ อิโต จิโต โคจรํ ปริเยสตีติ มโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. มคฺคียติ ชีวิกํ กปฺปนตฺถาย มํสาทีหิ อตฺถิเกหิ ลุทฺเทหิ อเนฺวสตีติ วา มโค. มรฺ ปาณจาเค วา, อ, รสฺส โค.
  8. มคธ : (ปุ.) มคธ ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ ปัจจุบันเรียกว่า พิหาร วิ. มเคน สทฺธึ ธาวนฺตีติ มคธา. มคปุพฺโพ, ธาวฺ คติสุทฺธิยํ, อ. ลบที่สุดธาตุ. มํเสสุ คิชฺฌนฺตีติ มคธา. มํสปุพฺโพ, คิธฺ อภิกํขายํ, อ. ลบ อํส และ ธฺ.
  9. มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
  10. สพฺพกามทท : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งความใคร่ทั้งปวง, ผู้ให้ซึ่งสิ่งที่ใคร่ทั้งปวง. วิ. สพฺพกามํ ทโท สพฺพกามทโท.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : มัง, not found

(0.1294 sec)