Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างรวดเร็ว, รวดเร็ว, อย่าง , then รวดเร็ว, อยาง, อย่าง, อยางรวดรว, อย่างรวดเร็ว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างรวดเร็ว, 440 found, display 251-300
  1. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  2. พฺยาโรสนา : (อิต.) ความกริ้วกราด (โกรธมาก), กราดกริ้ว เกรี้ยวกราด (ดุและด่าอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ). วิ. อา ปุพฺโพ, รุสฺ โรสเน, ยุ.
  3. พฺรหฺมชาติ : (อิต.) พรหมชาติ ชื่อตำราหมอดูอย่างหนึ่ง มีกฏเกณฑ์การทำนายโดยเลข ๗ ตัว เป็นหลักใหญ่ ยังไม่ถึงขั้นโหราศาสตร์.
  4. พฺรหฺมทณฺฑ : (ปุ.) ไม้แห่งพระพรหม, อาชญาของพระพรหม, อาชญาอันประเสริฐ, พรหมทัณฑ์ ชื่อ การลงโทษอย่างสูงอย่างหนึ่งของพุทธศาสนา คือห้ามไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายากสอนยากห้ามไม่ ให้ใครพูดด้วย. ปัจจุบันนี้ยังใช้ได้ผลหรือไม่?
  5. พฺรหฺมวิหาร : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม, ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่, ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ, พรหมวิหาร ชื่อธรรมหมวดหนึ่ง มี ๔ ข้อ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา.
  6. พฺรหฺมุชฺชุคตฺต : ค. มีกายตรงเหมือนกายพรหม, มีท่าทางสง่างาม (ลักษณะอย่างหนึ่งในกายของมหาบุรุษ)
  7. พลิ : (ปุ.) ภาษี, อากร (ค่าธรรมเนียมอย่างหนึ่งซึ่งรัฐบาลเรียกเก็บ). วิ. พลนฺติ อเนนาติ พลิ. ปาณเน, อิ.
  8. พลิสมสิกา : อิต. การเกี่ยวด้วยเบ็ด, การทรมานกายอย่างหนึ่ง
  9. พหุธา : อ. โดยมาก, ส่วนมาก, หลายอย่าง
  10. พหุเภท พหุพฺเภท : (วิ.) มีชนิดมาก, มีอย่างมาก, มาก, ต่างๆ.
  11. พหุล : อ. อย่างมาก, บ่อยๆ
  12. พหุลาชีว : ค. มีความเป็นอยู่อย่างหรูหราฟุ่มเฟือย
  13. พหุวิฆาต : ค. มีความผิดหวัง, มีความคับแค้น, มีทุกข์อย่างใหญ่หลวง
  14. พาหุลฺย, พาหุลฺล : นป. ความอุดมสมบูรณ์, การเป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย
  15. พาฬฺห : อ. อย่างแข็งแรง, อย่างมั่นคง, อย่างมากมาย, อย่างหนักแน่น
  16. ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
  17. ภวงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภพ, ภวังค์ คือส่วนที่สืบต่อระหว่างปฏิสนธิกับจุติ อีกอย่างหนึ่ง คือภพของจิต ที่อยู่ของจิต.
  18. ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
  19. มตฺตกาสินี : (อิต.) หญิงอย่างดี, หญิงผู้ดี, นางโฉมงาม, มตฺตปุพฺโพ, กสฺ คติยํ, ณี, อินี จ.
  20. มโนคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปของใจ, ความไปของใจ, ความรู้แห่งใจ, ความสำเร็จแห่งใจ, แบบอย่างแห่งใจ, ความคิด.
  21. มหปริจาค : (ปุ.) การเสียสละอย่างใหญ่, การบริจาคใหญ่, มหาบริจาค.
  22. มหาภินิกฺขมน : (นปุ.) การก้าวออกอย่างยิ่งใหญ่, การก้าวออกเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่, การออกบวชเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่, มหาภิเนษกรณ์ คือการเสด็จออกผนวชของพระโพธิสัตว์.
  23. มหาหิงฺคุ : (ปุ.?) มหาหิงคุ์ ชื่อของเครื่องยาอย่างหนึ่งซึ่งเป็นยางของต้นหิงคุ.
  24. มาส : (ปุ. นปุ.) เดือน (ระยเวลา ๓๐ วัน). วิ. สตฺตานํ อายุ มิณนฺโต วิย สียติ อนฺตํ กโรตีติ มาโส. มา (นับ)+สา ธาตุ ในความจบ. สุด อ ปัจ. มิณนฺต มาจาก มาธาตุ นา และ อนฺต ปัจ. แปลง นา เป็น ณา รัสสะ. อีกอย่างหนึ่งเป็น มสิ ปริมาเณ, โณ.
  25. มูควตฺต : (นปุ.) ความประพฤติใบ้, ความประพฤติเป็นคนใบ้, มูควัตร ชื่อวัตรของเดียรถีอย่างหนึ่ง คือ ประพฤติเป็นคนใบ้ไม่พูดจากัน.
  26. ยงฺกิญฺจิ : (วิ.) อย่างใดอย่างหนึ่ง, ทุกชนิด.
  27. ยถตฺต : นป. ความเป็นจริง, ความเป็นอย่างนั้น
  28. ยถาการี : ค. ผู้มีปกติกระทำอย่างไร, อย่างที่เขาทำ
  29. ยถาตถ : (นปุ.) อย่างไรอย่างนั้น, ตามจริง.
  30. ยถาตถ : (อัพ. นิบาต) อย่างใดอย่างนั้น, อย่างไรอย่างนั้น, ตามจริง, จริง, แท้.
  31. ยถารูป : (วิ.) มีรูปอย่างไร, ตามแบบอย่างนั้น, เช่นนั้น.
  32. ยถาสุข : ก. วิ. ตามสะดวกสบาย, อย่างสะดวกสบาย
  33. ยาถาวโต : ก. วิ. โดยแน่นอน, โดยแน่แท้, อย่างจริงแท้
  34. ยาวกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยาวกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนได้เฉพาะเวลาเช้าถึงก่อนเที่ยง และฉันได้เช้าชั่วเที่ยงเท่านั้น ได้แก่ ข้าว อาหารทุกอย่าง.
  35. ยุทธวิธี : (ปุ.) แบบอย่างแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, วิธีแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ.
  36. เยภุยฺเยน : ก. วิ. โดยมาก, อย่างมาก
  37. รฏฺฐปุริส : (ปุ.) รัฐบุรุษ ชื่อบุคคลผู้ได้รับการยกย่องจากรัฐ เพราะเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถและมีคุณธรรมในการบริหารบ้านเมืองเป็นอย่างสูง.
  38. รโห : อ. อย่างลับ ๆ , ในที่ลับ, ในที่เปลี่ยว
  39. วคฺคุวท : ค. ซึ่งพูดอย่างไพเราะ
  40. วาตชว : ค. ซึ่งรวดเร็วเหมือนลม
  41. วิกุพฺพน : นป. การเปลี่ยนแปลงอย่างมหัศจรรย์
  42. วิธิ : ป. การทรงไว้อย่างวิเศษ; แบบ, กฎ, ธรรมเนียม
  43. วิวิธ : ค. มีอย่างต่าง ๆ
  44. สพฺพ : (วิ.) ทั้งปวง, ทั้งมวล, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ทั้งผอง, ทั้งเพ, ทุก, ทุกๆ, ทุกเมื่อ, ทุกอย่าง, สารพัด, สารพัน. วิ. สรติ ปวตฺตตีติ สพฺพํ. สรฺ คติยํ, โพ, รสฺส โพ. สพฺพติ ปวตฺตตีติ วา สพฺพํ. สพฺพฺ คติยํ, อ. ส. สรฺพ สรฺพฺพ สรฺว สรฺวฺว สรฺพ สรฺพฺพ.
  45. สมชฺชา : (อิต.) บริษัท, ภูมิที่ประชุม, สมัชชา(การประชุมเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ). วิ. สมชฺชนฺติ สํคจฺฉนฺติ มีลนฺตฺยสฺสนฺติ สมชฺชา. สํปุพโพ, อชฺ คมเน, อ, ชสฺส ทฺวิตฺตํ. อิตถิยํ อา. อภิฯ. สํปุพฺโพ, อญฺชฺ คติยํ, โณย. ลบ. ญฺสังโยค แปลง ชฺย เป็น ชฺช รูปฯ ๖๔๔. ส. สมชฺยา.
  46. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  47. สมฺพหุล : ค. มากมาย, หลายอย่าง
  48. สมฺมน : (วิ.) มีใจร่วม, มีใจร่วมกัน, มีใจรวมกัน. ไทย สัมมนา ว่า การประชุมเพื่อปรึกษาหารือกันในดำเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่ง.
  49. สมาส : (ปุ.) การย่อ วิ. สมเสนํ สํขิปินํ วา สมาโส. ศัพท์อันท่านย่อ ศัพท์อันท่านย่อเข้า วิ. สมสิยเตติ สมาโส. สํปุพฺโพ, อสฺ สํขิปเน, โณ. สมาส ชื่อของวิชาไวยากรณ์อย่างหนึ่ง คือ การย่อมนามศัพท์ตั้งแต่สองศัพท์ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน. ส. สมาส.
  50. สรภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นคืออันกล่าวด้วยเสียง, ธรรมอันบุคคลพึงกล่าวด้วยเสียง, สรภัญญะ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสวดอย่างหนึ่ง. สร+ภณ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. หรือ สร+ภณฺ+ณฺย ปัจ. นามกิตก์.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-440

(0.0462 sec)