Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างรวดเร็ว, รวดเร็ว, อย่าง , then รวดเร็ว, อยาง, อย่าง, อยางรวดรว, อย่างรวดเร็ว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างรวดเร็ว, 440 found, display 351-400
  1. อนุกโรติ : ก. ทำตาม, เอาอย่าง, เลียนแบบ
  2. อนุการี : ค. ผู้เลียนแบบ, ผู้เอาอย่าง
  3. อนุกุพฺพนฺต : กิต. ทำตาม, เอาอย่าง
  4. อนุตฺตร : (วิ.) ผู้ประเสริฐกว่าหามิได้, ไม่มีผู้ประเสริฐกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นยิ่งกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นจะยิ่งกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด. วิ. นตฺถิอุตฺตโรยสฺมาโสอนุตฺต-โร.นตฺถิตสฺสอนุตฺตโรติวาอนุตฺตโรส.อนุตฺตร.
  5. อนุตฺตรสมฺมาสมฺโพธิญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบอย่างยิ่ง, ญาณเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบอย่างยิ่ง.
  6. อนุตฺตริย : (วิ.) ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, อนุตฺตร ศัพท์อิยปัจ.สกัด?
  7. อนุพนฺธ : (ปุ.) อักษรที่หายไปเช่นอิอุที่ติดมากับธาตุเมื่อเป็นรูปสำเร็จอิอุหายไป(คือ ลบ อิ อุ) เรียกอักษรอย่างนี้ว่าอนุพันธะ
  8. อนุวิธียติ : ก. เอาตาม, เอาอย่าง, เลียนแบบ
  9. อนุวิธียนา : อิต.การเลียนแบบ,การเอาอย่าง,การตามอย่าง
  10. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  11. อนุสิกฺขน : นป. การเอาอย่าง, การเจริญรอยตาม
  12. อเนกปสงฺค : (วิ.) มีความต้องการมิใช่อย่างเดียว, มีความปราถนามิใช่อย่างเดียว, หลายอย่างตามความต้องการ.
  13. อปฺปณิหิต : (ปุ.) อัปปณิหิตะชื่อวิโมกข์อย่างหนึ่ง.
  14. อปิจ : (อัพ. นิบาต) เออก็, ก็อีกอย่างหนึ่ง, อีกโสดหนึ่ง.
  15. อผาสุก : ก. วิ. อย่างไม่สบาย
  16. อพฺยยีภาว : (ปุ.) ความเป็นของคงที่, ฯลฯ, อัพยยีภาวะชื่อของสมาสอย่างหนึ่ง.
  17. อภิชฺฌา : (อิต.) อภิชฌาชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ, ความอยากได้, ความทะเยอทะยาน, ความกระวนกระวาย, ความปรารถนาอย่างแรงกล้า, ความเพ่งเฉพาะ, ความปรารถนา.วิ.ปรสมฺปตฺตีอภมุขํกตฺวาฌายตีติอภิชฺฌา.ส. อภิขฺยา.
  18. อภิญฺญาณ : (นปุ.) ความรู้ยิ่ง, ความรู้อย่างสูง, เครื่องหมาย, รอย.
  19. อภิฐาน : (นปุ.) ฐานยิ่ง, ฐานะอย่างหนัก, อภิฐานะชื่อของความผิดสถานหนักมี๖อย่างคืออนันตริยกรรม๕ การปฏิญญาณรับถือศาสนาอื่นในขณะที่ครองเพศบรรพ-ชิตเป็นข้อที่ ๖.
  20. อภิธมฺม : (ปุ. นปุ.) ธรรมยิ่ง, ธรรมอย่างสูง, ธรรมอันประเสริฐ, อภิธรรมกล่าวด้วยเรื่องจิตเจตสิกรูปและนิพพานเป็นปิฎกที่๓.ส. อภิธรรม.
  21. อภิรุจิร : ค. ยินดีอย่างยิ่ง, น่าชอบใจยิ่ง
  22. อภิวินย : ป. วินัยชั้นสูง, การแนะนำอย่างดี
  23. อภูเตน : ก. วิ. อย่างไม่จริง
  24. อมูฬฺหวินย : (ปุ.) อมูฬหวินัยชื่อวิธีระงับอธิ-กรณ์อย่างหนึ่งในเจ็ดอย่างถ้ามีภิกษุเป็นบ้าเมื่อหายบ้าแล้วสงฆ์จะสวดประกาศมิให้ใครโจทท่านด้วยอาบัติที่ท่านทำขณะเป็นบ้าเรียกว่าอมูฬหวินัย.
  25. อรณิก : (ปุ.) ตะบันไฟชื่อเครื่องมือทำให้เกิดไฟอย่างหนึ่งของโบราณรูปคล้ายตะบันหมากของคนแก่.
  26. อริยสจฺจ : (นปุ.) ความจริงอันประเสริฐ, ความจริงอย่างประเสริฐ, ความจริงอันยังปุถุชนให้เป็นพระอริยะ, ความจริงอันยังปุถุชนผู้ปฏิบัติตามมรรค ๘ ให้เป็นอริยะ, ความจริงของพระอริยะ, อริยสัจชื่อของหมวดธรรมหมวดหนึ่งซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสรู้ มี ๔ข้อคือ ๑.ทุกข์๒. ทุกขสมุทัย๓. ทุกขนิโรธและ ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา.ไตร.๓๕/๑๔๔.
  27. อลมริย : ค. อย่างประเสริฐ, อย่างแท้จริง
  28. อวสฺส : (อัพ. นิบาต) แน่แท้, ด้วยแท้, อย่างแน่นอน.
  29. อวสฺสก : ก. วิ. อย่างแน่แท้, แน่นอน
  30. อวิจฺจ : ก. วิ. อย่างไม่ปกปิด, อย่างเปิดเผย
  31. อวิปริณามธมฺม : ป. ความไม่เปลี่ยนแปลง, ความไม่แปรไปเป็นอย่างอื่น
  32. อสพฺพตฺถคามี : ค. ซึ่งไม่ให้สำเร็จประโยชน์ทุกอย่าง
  33. อสมนุคฺคาหิยมาน : ค. ยังไม่ถูกถามอย่างละเอียดถี่ถ้วน
  34. อสวต : ค. ไม่จำกัด, ไม่กำหนดลงอย่างแน่นอน
  35. อสิมล : นป. สนิมดาบ, วิธีขับไล่สนิมดาบ, (วิธีบำเพ็ญตบะอย่างหนึ่ง)
  36. อเสวนา : อิต. การไม่เสพ, การไม่คบค้าสมาคม, การไม่เอาอย่าง
  37. อาคม : (ปุ.) การมา, การมาถึง, นิกายเป็นที่มา, นิกายเป็นที่มาแห่งมรรคและผล, บาลี, พระบาลี, อาคม (การมาของอักษรคือการลงอักษรเป็นวิธีของบาลีไวยากรณ์อย่างหนึ่งศาสตร์ คัมภีร์มนต์ เวทมนต์).วิ.อาคมนํอาคโม.ส.อาคม.
  38. อาชวอาชฺชว : (วิ.) รวดเร็ว, ว่องไว, ซื่อตรง
  39. อาทานคาหี : (วิ.) ผู้ถือเอาด้วยความยึดถือ, ผู้ถืออย่างแน่นแฟ้น.
  40. อานนฺตริก, - ริย : ค. (กรรมที่ให้ผล) ไม่มีระหว่าง, (กรรม) ที่ไม่ให้กรรมอย่างอื่นเข้ามาแทรก, ติดต่อ, สืบเนื่อง, ทันทีทันใด
  41. อามิส : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องล่อใจ, วัตถุเครื่องล่อใจ, สินบน, เหยื่อ, เหยื่อล่อ, เนื้อ (เนี้อสัตว์ต่างๆ ), อามิส ( ของกินอย่างใดอย่างหนึ่งวัตถุมีข้าวเป็นต้น ).วิ. อามียติอนฺโตปกฺขิปียตีติอามิสํ.อาปุพฺโพ, มิปกฺเขปน, สกฺปจฺจโย, กฺโลโป, สปจฺจโยวา.อถวา, มิสฺสทฺเทอามสเนวา, อ. ส. อามิษ.
  42. อายุตฺตก : (ปุ.) บุคคลผู้เรียกเก็บซึ่งส่วย, นายส่วย( ส่วยคือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงอีกอย่างหนึ่งคือ เงินที่เก็บจากชายซึ่งมิได้รับราชการเป็นทหารเงินรัชชูป-การก็เรียกปัจจุบันเลิกเก็บแล้ว ), เสมียน, เจ้าพนักงาน, เจ้าหน้าที่.อาปุพฺโพ, อุจฺสมวาเย, โต.แปลงจฺเป็นตฺ กสกัดคำแปลหลังอายุตฺตลงกสกัด.ส. อายุกฺตก.
  43. อารมฺมณูปนิชฺฌาน : (นปุ.) การเข้าไปเพ่งดิน น้ำไฟ ลม เป็นต้นเป็นอารมณ์, การเพ่งดิน น้ำไฟ ลมเป็นต้นเป็นอารมณ์, การที่จิตเข้าไปเพ่งอารมณ์ของกัมมัฏฐานอยู่อย่างแนบแน่น.
  44. อาสนฺนกมฺม : (นปุ.) กรรมที่ทำเมื่อใกล้จุติ, การระลึกถึงสิ่งที่ดีหรือไม่ดีในเวลาใกล้จุติ ชื่อว่า อาสันนกรรม อีกอย่างหนึ่ง การทำดี หรือการทำไม่ดีเวลาใกล้ตาย ชื่อว่า อาสันนกรรม วิ. อาสนฺเน อนุสฺสริตํ อาสนฺนํ, อาสนฺเน วา กตํ อาสนฺนํ. อาสนฺนํ กมฺมํ อาสนฺนกมฺมํ.
  45. อิตฺถ : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้, ประการนี้, ประการะนี้. ด้วยประการฉะนี้, ดังนี้, นี่แหละ, อิม ศัพท์ ถํ ปัจ. อัพ๎ยตัท. แปลง อิม เป็น อิ แปลง ถํ เป็น ตฺถํ หรือ ซ้อน ตฺ ก็ได้ กัจฯ ๓๙๙ รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ได้ตั้งแต่ ปฐมาวิภัติ ถึง สัตมีวิภัติ.
  46. อิตฺถตฺตา : (อิต.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท ซ้อน ตฺ.
  47. อิตถนฺนาม : (วิ.) มีชื่ออย่างนี้, ฯลฯ. อิตฺถํ+นาม.
  48. อิตฺถนาม : ค. ชื่ออย่างนี้, มีชื่อว่าอย่างนี้
  49. อิตฺถภาว : (ปุ.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ.
  50. อิตฺถมฺภูต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งประการนี้, ถึงแล้ว ซึ่งอาการนี้, ถึงแล้วซึ่งความเป็นอย่างนี้. วิ. อิตฺถํ ภูโต ปตฺโตติ อิตฺถมฺภูโต. คำแปลหลัง วิ. อิตฺถตฺตํ ภูโตติ อิตฺถมฺภูโต. ลบ ตฺต.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-440

(0.0680 sec)