Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เผชิญหน้า, เผชิญ, หน้า , then เผชิญ, เผชิญหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เผชิญหน้า, 413 found, display 101-150
  1. นลาฏิกา : อิต. ทำหน้านิ่วคิ้วขมวด, หน้าบึ้ง, บึ้ง
  2. นเหตุเย : (อัพ. นิบาต) เพื่อไม่ให้มี. นบทหน้า หุ ธาตุ ตุเย ปัจ. แปลง อุ เป็น เอ
  3. นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
  4. นิจฺจ : (วิ.) เที่ยง, มั่นคง. แน่นอน, ยั่งยืน, ทุกเมื่อ, สะดวก, ประจำ, เนืองๆ, เป็นนิจ, เป็นนิตย์, เสมอ. วิ. นาสภาเวน น อิจฺจํ น คนฺตพฺพนฺติ นิจฺจํ นาสํ น คจฺฉตีติ วา นิจฺจํ นาสบทหน้า คมฺ+กฺวิ ปัจ. ลบ ส และ มฺ แปลง อา เป็น อิ แปลง ค เป็น จ ซ้อน จฺ ส. นิตฺย.
  5. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  6. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  7. นิฏล : (นปุ.) หน้าผาก. นิ+ฏล. ส. นิฏล นิฏาล.
  8. นิตฺถุนน : (นปุ.) การทอดถอน, การถอนใจ. นิบทหน้า ถุธาตุ นาปัจ. ประจำหมวดธาตุ รัสสะ อา เป็น อ ยุ ปัจ.
  9. นิทฺทุกข : (วิ.) มีทุกข์ออกแล้ว นิกฺขนฺต+ทฺข, ออกแล้วจากทุกข์ ทุกฺข+นิกฺขนฺต ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบท เอาไปไว้หน้า, ไม่มี ทุกข์, ปราศจากทุกข์, นิรทุกข์.
  10. นิทฺธารณ : (นปุ.) การนำออกแล้วทรงไว้ วิ. นีหริตฺวา ธารณํ นิทฺธารณํ. ลบบทหน้า เหลือ นี แล้ว รัสสะ ซ้อน ทฺ.
  11. นิทาฆ : (ปุ.) ฤดูร้อน, ฤดูแล้ง, หน้าร้อน. วิ. นิทหนฺเต อสฺมินฺติ นิทาโฆ. ความร้อน, ความอบอ้าว, เหงื่อ. นิปุพฺโพ, หทฺ ภสฺมีกรเณ, โณ, หสฺส โฆ. ส. นิทาฆ.
  12. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  13. นิพฺภจฺเจติ : ก. ขู่, คุกคาม; ทำให้เลวลง, หยามน้ำหน้า
  14. นิมิตฺตกมฺม : นป. การทำนายล่วงหน้า, ลาง
  15. นิยฺยาตน : (นปุ.) การคืนของฝากไว้ให้แก่ เจ้าของ, การให้, การมอบให้. นิบทหน้า ยตฺ ธาตุในความมอบให้ ยุ ปัจ.
  16. นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.
  17. นิลชฺช : (วิ.) มีความสะอาดแล้ว, มีความกระดากออกแล้ว, ฯลฯ, หมดความละอาย, หมดความกระดาก, หน้าด้าน.
  18. นิลฺลชฺช : ค. ไม่มีความละอาย, หมดยางอาย, หน้าด้าน
  19. ปจฺจุปฺปนฺน : กิต. เกิดขึ้นเฉพาะหน้า, ปัจจุบัน
  20. ปจลายติ : ก. ง่วงนอน, พยักหน้า, หงุบหงับ, เคลิ้มหลับไป
  21. ปญฺจปติฏฺฐิต : นป. เบญจางคประดิษฐ์, การหมอบลงกราบกับพื้นด้วยส่วนทั้งห้า (หน้าผาก ๑, มือ ๒, เข่า ๒)
  22. ปฏิกจฺจ : ค. ก่อน, ด่วน, ล่วงหน้า
  23. ปฏิปถ : ป. ทางตรงข้าม, ทางขวางหน้า, ทางสวนกัน
  24. ปฏิภย : นป. ภัยเฉพาะหน้า, สิ่งที่น่ากลัว, อันตราย
  25. ปฏิมคฺค : ป. ทางสวนกัน, ทางขวางหน้า
  26. ปณิปตติ : ก. ฟุบลงเบื้องหน้า, หมอบลงข้างหน้า
  27. ปตฺตชีวก : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งการเลี้ยงชีพ วิ. ชีวิกํ ปตฺโต ปตฺตชีวโก. กลับบทหน้าไว้หลัง รูปฯ ๓๓๖.
  28. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  29. ปทฺวาร : นป. บริเวณประตู, ที่หน้าประตู
  30. ปเทสวสฺสี : ค. (ฝน) ซึ่งตกในที่บางส่วน, (บุคคล) ผู้เป็นดุจฝนตกเฉพาะที่บางส่วน คือให้ทานแก่คนไม่ทั่วหน้า
  31. ปโทส : (ปุ.) กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี, พลบค่ำ, เวลาพลบค่ำ. วิ. โทสาย รตฺติยา ปารมฺโภ ปโทโส. ลบ อารมฺภ แล้วแปร ป ไว้หน้า อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปทุสฺสันติ ยตฺถ สพฺพกมฺมานีติ ปโทโส. ปปุพฺโพ, ทุสฺ โทสเน, โณ.
  32. ปธาวติ : ก. วิ่งออกไป, วิ่งไปข้างหน้า, วิ่งถลันเข้าไปหา
  33. ปปุตฺต : (ปุ.) หลาน ( ลูกของลูกชายหรือลูก ของลูกสาว ) , หลานชาย. วิ. ปุตฺตสฺส ปุตฺโต ปปุตฺโต. ลบ ตฺต ของศัพท์หน้า และแปลง อุ เป็น อ.
  34. ปพฺภารทสก : นป. ระยะ ๑๐ ปี ที่มีกายเงื้อมไปข้างหน้า, วัยของคนอายุระหว่าง ๖๐ ถึง ๗๐ ปี
  35. ปมาตุ : (อิต.) มารดาของมารดา, แม่ของแม่, ยาย. มาตุ + มาตุ ลบ ต ศัพท์หน้า รัสสะ อา เป็น อ แปลง ม เป็น ป.
  36. ปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ปู่ชวด, ตาชวด. วิ. ปิตุโน อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ. หรือ อยฺยกโต ปโร ปยฺยโก. ลบ ร แล้วแปร ป ไว้หน้า อภิฯ และ รูปฯ๓๓๖. หรือ ปคโต อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ คต.
  37. ปยาติ : ก. ไปข้างหน้า, ออกเดินทาง, ดำเนินไป, เดินทางไป
  38. ปร : อ. เบื้องหน้า, ถัดไป, ต่อจาก, พ้นไป, ในฝ่ายอื่น
  39. ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
  40. ปรชฺชุ : (อัพ. นิบาต) ในวันอื่น, ในวันข้างหน้า.
  41. ปรชน : ป. คนอื่น, คนแปลกหน้า, คนภายนอก, คนฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ปีศาจ
  42. ปรโต : (อัพ. นิบาต) ข้างอื่น, ข้างหน้า.
  43. ปรมฺมรณ : (นปุ.) เบื้องหน้าแต่ความตาย, เบื้องหน้าแต่ตาย.
  44. ปรมฺมรณา : อ. เบื้องหน้าแต่ตาย, หลังจากตาย
  45. ปรมฺมุข : ค. มีหน้าในทางอื่น, ซึ่งหันหน้าไปทางอื่น
  46. ปรมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ลับ, ลับหน้า, ในที่อื่น แห่งหน้า, ลับหลัง, ในที่ลับหลัง.
  47. ปรโลก : ป. โลกอื่น, โลกหน้า
  48. ปรวาที : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีวาทะอื่น, อาจารย์ผู้ มีวาทะแก่อาจารย์ผู้อยู่ในเบื้องหน้า, พระ ปรวาที พระปรวาทีอาจารย์ ( อาจารย์ ผู้ ตอบ อาจารย์ผู้ค้าน ).
  49. ปรหิยฺย : (ปุ.) วันอื่นจากวันวาน, วานซืน ( ก่อนวานนี้วันหนึ่ง ). วิ. หิยฺยโต ปโร ปรหิยฺโย. กลับบทหน้าไว้หลัง. อมาทิปรตัป รูปฯ ๓๓๖.
  50. ปรา : (อัพ. อุปสรรค) เสื่อม, ฉิบหาย, กลับความคือนำหน้าธาตุแล้ว ทำให้ธาตุนั้นมีความกลับกันจากเดิม อุ. ชิต ชนะแล้ว ลง ปรา เป็น ปราชิต แพ้แล้ว เป็นต้น.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-413

(0.0695 sec)