Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เผชิญหน้า, เผชิญ, หน้า , then เผชิญ, เผชิญหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เผชิญหน้า, 413 found, display 201-250
  1. มุขจุณฺณก : (นปุ.) เครื่องผัดหน้า, แป้งผัดหน้า.
  2. มุขโธวน : นป. การล้างหน้า, การล้างปาก
  3. มุขปุญฺฉน : นป. การเช็ดหน้า, ผ้าเช็ดหน้า
  4. มุขผุลฺล : (นปุ.) เครื่องประดับหน้า วิ. มุเข ผุลฺลตีติ มุขผุลฺลํ. ผุลฺลฺ วิกสเน, อ.
  5. มุขลฺโลกก : ค. ซึ่งมองดูหน้าคน
  6. มุขวิการ : ป. การปุ้ยปาก, การเสนอหน้า
  7. มุขวิเลปน : (นปุ.) เครื่องทาหน้า, เครื่องไล้หน้า.
  8. มุโขทก : (นปุ.) น้ำสำหรับบ้วนปาก, น้ำบ้วนปาก, น้ำสำหรับล้างหน้า, น้ำล้างหน้า.
  9. มุโขโลกน : นป. การมองดูหน้า, การเห็นแก่หน้า
  10. มุติงฺค : (ปุ.) กลองสองหน้า, ตะโพน. วิ. มุทํ ปโมทํ อิงฺคติ อเนนาติ มุติงฺโค. มุทปุพฺโพ, อิงฺคฺ คมเน, อ, ทสฺส โต.
  11. มุทิงฺค : (ปุ.) กลองสองหน้า, ตะโพน. ดู มุติงฺค.
  12. มุฬฺห : (ปุ.) ความหลง, ความเขลา, ความโง่. มุหฺ เวจิตฺเต, โฬ. กลับอักษร เอา ฬ ไว้หน้า ห.
  13. ราชงฺคณ : นป. สนามหลวง, สนามหน้าพระราชวัง
  14. วสฺสาน : ป. ฤดูฝน, หน้าฝน
  15. สงฺโกจ : ป. การเบี้ยวบูด, การสยิ้วหน้า; รูปวิบัติ
  16. สนฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนเป็นที่ตั้งพร้อม, โรงรับแขก. สนฺถ สำเร็จรูปมาจาก สํ บทหน้า ถา ธาตุ อ ปัจ.
  17. สนฺนิธิ : (ปุ.) การรวบรวม, การใก้ลเคียง, การปรากฏเฉพาะหน้า, การสะสม, การสั่งสม, การนับเนื่อง, ความรวบรวม, ฯลฯ. อิ ปัจ. ที่ใกล้ ความประจักษ์ ก็แปล. ส. สนฺนิธิ.
  18. สปฺปฏิภย : ค. มีอันตรายเฉพาะหน้า, เป็นไปกับด้วยอันตราย
  19. สปิฎภย สปฺปฎิภย : (วิ.) มีภัยเฉพาะ, มีภัยเฉพาะหน้า, มีภัยจังหน้า.
  20. สมฺปยาต : กิต.ไปข้างหน้า, เดินต่อไป
  21. สมฺปราย : (ปุ.) ปรโลกอัน...พึงถึงในเบื้องหน้าพร้อม, โลกอันสัตว์พึงถึงในเบื้องหน้า, โลกหน้า, ภพหน้า, ปรโลก. สํ ปเร ปุพฺโพ, อยฺ คตยํ, อ.
  22. สมฺปรายิก : (วิ.) อันเป็นไปในโลกอันสัตว์พึงถึงในเบื้องหน้า, ฯลฯ, อันเป็นไปในปรโลก.
  23. สมฺมุข : (วิ.) มีหน้าเฉพาะ, เฉพาะหน้า, ตรงหน้า, พร้อมหน้า.
  24. สมฺมุขฏฐาน : (นปุ.) ที่มีหน้าเฉพาะ, ที่ตรงหน้า, ที่พร้อมหน้า.
  25. สมฺมุขตา : (อิต.) ความพร้อมหน้า.
  26. สมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, พร้อมหน้า, ในที่พร้อมหน้า, ในที่เฉพาะหน้า. นิบาตลงในอรรถสัตมี. รูปฯ ๒๘๒.
  27. สมฺมุขี : (วิ.) ผู้มีหน้าพร้อม, ผู้พร้อมหน้า.
  28. สมฺมุขีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีหน้าพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมหน้า, ความเป็นผู้พร้อมหน้า.
  29. สมฺมุขีภูต : (วิ.) เป็นผู้มีหน้าพร้อมเป็นแล้ว, เป็นผู้พร้อมหน้าเป็นแล้ว.
  30. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  31. สลฺลหุก : (วิ.) เบา, เบาพร้อม (คือ เบากาย เบาจิต), กระปี้กระเปร่า. สํปุพฺโพ, สํฆฺ คติโสสเนสุ, โก. ลง อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ลบนิคคหิตที่ธาตุ แปลง ฆ เป็น ห แปลง อ ที่ ห เป็น อุ แปลงนิคคหิตที่บทหน้าเป็น ล.
  32. สหพฺย : (ปุ.) มิตร, สหาย, เพื่อน. สหปุพฺโพ, เ พฺย ปวตฺติยํ, อ. ลบสระหน้า คือ เอ.
  33. สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
  34. สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
  35. สิโรเวฐน : (นปุ.) ผ้าโพกหัว, จอม, มงกุฎ, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ยมีกรอบหน้า), อุณหิส (กรอบหน้า) มงกุฎา. วิ. สิรโส เวฐนํ สิโรเวฐนํ.
  36. หุร : (อัพ. นิบาต) โลกอื่น, ภพอื่น, เบื้องหน้า, ภพหน้า, ในเบื้องหน้า, ในภพหน้า. กาล สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต.
  37. เห : (อัพ. นิบาต) โลกอื่น, ภพอื่น, เบื้องหน้า, ภพหน้า, ในเบื้องหน้า, ในภพหน้า. กาลสตฺตมิยตฺเถ นิปาโต.
  38. โหรา : (อิต.) วิชากล่าวด้วยเหตุในเบื้องหน้าและเหตุในอดีต วิ. หุรํ การเณน จ อดีตการเณน จ วจตีติ โหรา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  39. อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์ ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
  40. อกฺกมอกม : (วิ.) เหยียบ.อาบทหน้า กมฺธาตุอปัจ.รัสสะ อา เป็น อ ศัพท์ หน้าซ้อน กฺ.
  41. อกฺกม อกม : (วิ.) เหยียบ. อา บทหน้า กมฺ ธาตุ อ ปัจ. รัสสะ อา เป็น อ ศัพท์ หน้าซ้อน กฺ.
  42. อกฺขรานิ : (วิ.) อัน...ไม่พึงกระทำ. นบทหน้ากรฺ ธาตุ อานิ ปัจ. แปลง กรฺเป็นขรฺ.
  43. อกฺข อกฺขก : (ปุ.) ไหปลาร้า คือกระดูกทั้งคู่ที่อยู่ต้นคอข้างหน้าทั้งสองข้าง, รากขวัญ, กระดูกคร่อมต้นคอ. อกฺ คมเน, โข, สกตฺเถ โก.
  44. อกรณ : (นปุ.) การไม่ทำ, การงดเว้น, ความไม่ทำ. ความงดเว้น, นปุพฺโพ, กร. กรเณ, ยุ. น บทหน้า กรฺ ธาตุในความทำ ยุ ปัจ.
  45. อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
  46. อคฺคช : (ปุ.) บุคคลผู้เกิดก่อน, ลูกคนหัวปี, ลูกคนแรก, พี่ชาย.อคฺค บทหน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ, ลบ นฺ. ส. อคฺรช.
  47. องฺคานุสารี : (ปุ.) ลมอันแล่นไปตามซึ่งอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันพัดไปตามอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันมีปกติแล่นไปตามอวัยวะทั้งปวง. วิเคราะห์ว่าสพฺพงฺเค อนุสรติ สีเลนาติ องฺคานุสารี.เป็นต้น.สพฺพงฺค บทหน้า อนุบทหน้าสรฺ ธาตุในความแล่นไป ณี ปัจ.ลบ.สพฺพ. แปลว่าลมพัดไปตามตัว โดยไม่ลงในอรรถสีลก็ได้.
  48. อจฺฉริยอจฺฉิริยอจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์.วิ. อจฺฉรํปหริตุยุตฺตนฺติอจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ.กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺเป็นจฺฉรจฺฉริยและ จฺเฉร รัสฺสะอา บทหน้าเป็นอ
  49. อจฺฉริย อจฺฉิริย อจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์. วิ. อจฺฉรํ ปหริตํ ยุตฺตนฺติ อจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ. กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺ เป็น จฺฉร จฺฉริย และ จฺเฉร รัสฺสะ อา บทหน้าเป็น อ.
  50. อญฺโญญ : (วิ.) กันและกัน.อญฺญ+อญฺญลบ อที่สุดของศัพท์หน้าแปลง อเบื้องต้นของศัพท์หลังเป็นโอ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-413

(0.0300 sec)