Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เผชิญหน้า, เผชิญ, หน้า , then เผชิญ, เผชิญหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เผชิญหน้า, 413 found, display 351-400
  1. อุปปชฺชเวทนียกมฺม : นป. กรรมที่ให้ผลในชาติหน้า
  2. อุปริ : (อัพ. นิบาต) บน, ข้างบน, เบื้องบน, ด้าน, ด้านเหนือ, ล่วงไป, ในเบื้องบน, ณ เบื้องบน, ในเบื้องหน้า, ณ เบื้องหน้า. สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต. เว้น อุ. อุปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ฝนเว้นซึ่งภูเขาย่อมตก. รูปฯ ๒๙๘. ส. อุปริ.
  3. อุปวน : (นปุ.) สวน, สวนใหญ่, สวนดอกไม้. วิ. อุปคตํ อุปโรปิตํ วา วนํ อุปวนํ. ป่า ใกล้, ป่าใกล้เคียง. วิ. สมีปํ วนํ อุปวนํ. วิ. ใช้ สมีป แทน อุป. ที่ใกล้แห่งป่า วิ. วนสฺส สมีปํ อุปวนํ. กลับบทหน้าไว้หลัง.
  4. อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
  5. อุยฺยาม : (ปุ.) ความเพียร, ความหมั่น, ความพยายาม, ความขยัน, ความขยันขันแข็ง, การตั้งหน้าทำ. วิ. อุทฺธํ ยนฺติ เยน โส อุยฺยาโม. อุทฺธํปุพฺโพ, ยา คมเน, โม. ส. อุทฺยาม.
  6. อุฬุก อุฬุงฺก : (ปุ.) แปลเหมือน อุหุการ. อุหุ  บทหน้า กา ธาตุ ในความร้อง อ ปัจ. แปลง ห เป็น ฬ เป็น อุลุงฺก อุฬูก บ้าง.
  7. เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.
  8. โอหีฬนา : อิต. การดูถูก, การหยามน้ำหน้า
  9. คหน : ๑. นป. ดง, ป่าทึบ, ป่าชัฏ; ๒. ค. ทึบ, หนา, ลึก, รกชัฏ
  10. ฆน : (วิ.) ไม่ขาด, หนา, ชิด, หยาบ, แข็ง, ตัน, ทึบ, แท่งทึบ, แน่นอน, ปึก, แผ่น, ล่ำ, เป็นก้อน, เป็นกลุ่ม, เป็นกลุ่มเป็นก้อน, หมด, สิ้น. หนฺ พนฺธเน, อ, หสฺส, โฆ.
  11. ตพฺพ : (วิ.) ยิ่ง, มาก, หนา, ตั้งมั่น, มั่นคง, เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อาศัย, ตั้งไว้, ทรงไว้. ตลฺ ปติฎฺฐายํ, โพ, ทฺวิตฺติ, ลูโลโป.
  12. ติปฺป : ค. แหลม, คม, กล้า, แข็ง, ล้ำ, ยิ่ง, มืด, หนา
  13. ถุล ถุลฺล : (วิ.) เต็ม, อ้วน, พี, ใหญ่, ล่ำ, หยาบ, หนา, หนัก. ถุลฺ ปริพฺรูหเน, อ, โล.
  14. นิรนฺตร : (วิ.) มีระหว่างออกแล้ว, หาระหว่าง มิได้, ไม่มีระหว่าง, ไม่ขาด, ไม่ขาดสาย, ไม่เว้นว่าง, ติดต่อกัน, ติดต่อกันไป, ติดต่อกันตลอดไป, เสมอ, หนา, ชิด, หยาบ. ส. นิรนฺตร.
  15. พหล : (วิ.) เจริญ, รุ่งเรือง, ใหญ่, หนา, ทึบ, ล่ำ, กล้า. พหฺ วุทฺธิมฺหึ, อโล.
  16. ภูริ ภูรี : (วิ.) มาก, เจริญ, แข็งแรง, หนา, หนักหนา.
  17. อุรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก, เลิศ, ประเสริฐ, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, มีค่า. ส. อุรุ.
  18. อูรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก. วิ. อรติ มหนฺต ภาวํ คจฺฉตีติ อูรุ. อรฺ คมเน, อุ, อสฺสู (แปลง อ เป็น อู).
  19. กุหณา กุหนา : (อิต.) การหลอก, ฯลฯ, ความหลอก, ฯลฯ. ส.กุหน.
  20. ปริคูหนา : อิต. การปกปิด, การซ่อน
  21. ปิหนา : อิต. ดู ปิหน
  22. อปริโยคาหนา : (อิต.) ความสงสัย, ความคลางแคลง, ความไม่แน่ใจ.
  23. อภิชีหนา : อิต. ความอุตส่าห์, ความพยายาม
  24. อภินิคณฺหนา : อิต. การยึด, การดึง
  25. อสงฺคาหนา : อิต. ดู อสงฺคห
  26. อุนฺนหนา : อิต. การพูดประจบประแจง, การพูดเอาใจคนอื่น
  27. อุปคณฺหนา : อิต. การเข้าไปยึด, การยึดหน่วง
  28. อุปนยฺหนา : อิต. การเข้าไปผูกความมุ่งร้าย, การผูกพยาบาท, การเข้าไปผูกมั่น
  29. อุปาหนา : อิต. ดู อุปาหน
  30. กุกฺก : (วิ.) หนา.
  31. ภาร : (วิ.) หนัก, หยาบ, หนา.
  32. กฏฺฐ การ : (ปุ.) ช่างไม้ วิ. กฏฺฐํ กโรตีติ กฏฺฐ กาโร. ณ ปัจ. กฏฺฐ าริ (ปุ.อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับถาก ไม้ชนิดหนึ่ง รูปคล้ายจอบ ใส่ด้ามยาว สำหรับถือถาก ใบหนากว่าจอบ แต่โค้งงอ มาทางผู้ถือด้าม.
  33. กณฺฑล : (ปุ.) มะพูด ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใบใหญ่ หนาเป็นมัน ผลกลม รสเปรี้ยวอมหวาน.
  34. กปิลา : (อิต.) หนาด ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใบ ใหญ่หนามีกลิ่นฉุนใช้ทำยา, ดองดึง ชื่อไม้ เถาชนิดหนึ่ง ใช้หัวทำยา, ประดู่ลาย. กปิ จลเน, อิโล, อิตฺถิยํ อา.
  35. กุหนาวตฺถุ : นป. กุหนาวัตถุ, วัตถุเป็นที่ตั้งแห่งความหลอกลวง, เรื่องที่จัดว่าเป็นการหลอกลวง
  36. คาฬฺห : ก. วิ. มั่นคง, แข็งแรง, แน่นหนา
  37. คุหน : นป., คุหนา อิต. การซ่อน, การปกปิด, การรักษา; ความลับ
  38. คูหน : นป., คูหนา อิต. การซ่อน, การกำบัง, การปกปิด
  39. จตุรุสฺสท : ค. หนาแน่นด้วยเหตุสี่ประการ, พรั่งพร้อมด้วยสิ่งประกอบสี่อย่าง คือ ประชาชน, ข้าว,ไม้, และน้ำ
  40. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  41. ถูลตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของหนา, ความเป็นของหนา. ถูล+ตฺต ปัจ.
  42. ปุถุ : ๑. อ. นอกจาก, แต่, ต่างหาก, เว้นเสีย, คนละแผนก, ต่างๆ , กว้างขวาง; ๒. ค. หนา, ใหญ่, มาก, กว้าง, อ้วน
  43. ปุถุตฺต : นป. ความหนา, ความกว้าง, ความมาก
  44. พหลตฺต : นป. ความหนา, ความมีมาก; การเพิ่มขึ้น
  45. พหุ : (วิ.) เจริญ, หนักหนา, มาก, หลาย, ใหญ่, ใหญ่โต, อะโข, อักโข. วิ. พหติ วุทฺธึ คจฺฉตีติ พหุ. พหฺ วุทฺธิยํ, อุ.
  46. พหุล : (วิ.) เจริญ, หนักหนา, มาก. วิ. พหูอตฺเถ ลาตีติ พหุลํ. ลา อาทาเน, อ. พหุสัขฺยาเณ วา, อโล.
  47. ภุส : (วิ.) กล้า, มีกำลัง, ล้ำ (ยิ่ง), ดี, ดียิ่ง, ใหญ่ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, เลิศ, ประเสริฐ. ภสฺ วิปุลเน, อ, อสฺสุ. เป็น ภูส. บ้าง.
  48. มหาหาส : (ปุ.) การหัวเราะใหญ่, การหัวเราะหนักหนา.
  49. มหุสฺสาห : (วิ.) มีเพียรมาก, มีเพียรหนักหนา.
  50. เยภุยฺย : (วิ.) เจริญ, หนักหนา, มาก, มากยิ่ง, ชุกชุม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-413

(0.0701 sec)