Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กวี , then กว, กวิ, กวี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กวี, 74 found, display 1-50
  1. กวี : (ปุ.) คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงยินดี โดยปกติ วิ. กวติ กมิตพฺพวจนํ สีเลนาติ กวี. คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงรักโดย ปกติ วิ. กวติ เปมนียวจนํ สีเลนาติ กวี. กุ สทฺเท, ณี. ตั้ง วิ. ได้อีก.
  2. กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
  3. กพฺพการ, กพฺพการก : ป. นักกาพย์, นักกลอน, กวี
  4. กพฺย : (นปุ.) ความมีในกวี, ความเป็นกวี. วิ. กวิมฺหิ ภวํ กพฺยํ. กวิ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ ลบ ณฺ เป็น วฺย แปลง วฺ เป็น พฺ รูปฯ ๓๖๓, เรื่องของกวี วิ. กวิโน อิทํ กพฺยํ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕.
  5. กฺริยากปฺปวิกปฺป : ป. ศาสตร์ว่าด้วยกระบวนการแต่ง (อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่กวี) หมายถึงเกฏุภศาสตร์
  6. เกฏภ : นป. เกฏภศาสตร์, ศาสตร์ชนิดหนึ่งของพราหมณ์ ว่าด้วยวิชาการกวี, ศาสตร์อันเป็นอุปกรณ์แห่งกวี
  7. พุทฺธคาถา : อิต. พระดำรัสของพระพุทธเจ้าที่เป็นคำกวี
  8. อาขอาขนอาขาน : (ปุ.?)จอบ, เสียม. อาปุพฺ-โพ, ขณุขนุวาอวทารเณ, กวิ, อ, โณ.ส.อาขนอาขาน.
  9. อุปมา : (อิต.) การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ, อุปมา (เป็นไปใกล้ของความวัด). วิ. ยา อจฺจนฺ- ตาย น มิโนติ น วิจฺฉินฺทติ สา มาณาย สมีเป วตฺตตีติ อุปมา. อุปมียติ สทิสีกรียติ เอตายาติ วา อุปมา. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, กวิ, อ วา. ส. อุปมา.
  10. กฺว : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในไหน, ในไร. กึ ศัพท์ ว ปัจ. ลบ อึ. ส. กฺว.
  11. กีว : อ. เท่าไร? มากเท่าไร? มีประมาณเท่าไร?
  12. กีว กีวตก : (อัพ. นิบาต) เพียงไร, เท่าไร. บอกปริจเฉท ปุจฉกะ และปทปูรณะ. กึ ศัพท์ รีว รีวตกํ ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์.
  13. กุว, กุว, กฺว : อ. ที่ไหน?
  14. กุว กุวล กุวลฺย : (นปุ.) บัว, บัวสาย. วิ. กุยา ปฐวิยา วลฺยํ อิว โสภกรตฺตา กุวลฺยํ.
  15. มากฺกว : (ปุ.) ตองแตก ชื่อไม้เถาใบเป็นแฉกใช้ทำยา. มุจ โมจเน, อโว, อุสฺสา, จสฺส โก, ทฺวิตฺตญฺจ.
  16. ปนฺนค : (ปุ.) สัตว์ผู้มีหัวตกไป, สัตว์ผู้ไม่ไป ด้วยเท้า, ( เคลื่อนไปด้วยกระดูกซี่โครงและ เกล็ด ), งู, นาค, นาคราช. วิ. ปนฺนสิโร คจฺฉตีติ ปนฺนโค. ปนฺนํ คจฺฉตึติ วา ปนฺน โค. ปาเทหิ น คจฺฉตีติ วา ปนฺนโค. ปนฺน ปุพฺโพ, คมุ สปฺปคติยํ, กวิ.
  17. ปโมหก : (วิ.) ผู้ทำให้หลง. ปโมหปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กวิ.
  18. ปุพฺพช : (ปุ.) บุคคลผู้เกิดก่อน, พี่. วิ. ปุพฺเพกาเล ชายตีติ ปุพฺพโช. ปุพฺพสทฺทุปทํ, ชนฺ ชนเน, กวิ.
  19. มิคว : (ปุ.) ตนฆ่าเนื้อ, พรานเนื้อ. วิ. มิเคหนฺตีติ มิคโว. มิคปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, อ. แปลง หน เป็น ว. มิเค วนตีติ มิคโว. วนฺ พาธเน, กวิ. ลบที่สุดธาตุ.
  20. สมฺภู : (วิ.) ผู้เป็นดี, ผู้เป็นด้วยดี, สํปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, กวิ.
  21. อณีกฏฺฐ : (ปุ.) ราชองค์รักษ์. วิ. อณีเกน สมู เหน ติฏฺฐตีติ อณีกฏฺโฐ. อณีก ปุพฺโพ, ฐา ฐปเน, กวิ.
  22. อณีกฏฺฐ : (ปุ.) ราชองค์รักษ์.วิ.อณีเกน สมูเหนติฏฺฐตีติ อณีกฏฺโฐ.อณีก ปุพฺโพ, ฐาฐปเน, กวิ.
  23. อตฺตชอตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน.วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา.อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺรลบ ตฺ สังโยค. รูปฯลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  24. อตฺตช อตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน. วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา. อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺร ลบ ตฺ สังโยค. รูปฯ ลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  25. อุตฺตรกุรุ : (ปุ.) อุตตรกุรุ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อูรุ มหนฺต เมตฺถาติ กุรุ. กุ  ปาป รุนฺธนฺติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กวิ. อุตฺตโร อุตฺตโม กุรุ อุตฺตรกุรุ.
  26. กญฺญ า : (อิต.) หญิงผู้อันบุรุษ ท. พึงยินดี, หญิงผู้อันบุรุษยินดี, หญิงผู้ยังบุรุษให้ยินดี, หญิงผู้รุ่งเรือง, สาวน้อย, นาง, นางสาว, นางสาวน้อย, หญิงสาว, นางงาม, ผู้หญิง (คำนามนาม มิใช่วิเสสนะ), ธิดา, พะงา. วิ. กนียติ กามียติ อภิปตฺถียติ ปุริเสหีติ กญฺญา. กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โย, นฺยสฺส ญตฺตํ ทฺวิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา กํ ปุริสํ ญาเปตีติ วา กญฺญา. กปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ, ปฺโลโป, ญฺสํโยโค. โยพฺพนภาเว ฐิตตฺตา กนตีตี วา กญฺญา. ส. กนฺยา กนฺยกา.
  27. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  28. กปิฏฺฐ กปิตฺถ : (ปุ.) มะขวิด, ต้นมะขวิด. วิ. กวิมฺหิ วานเร ติฏฐตีติ กปิฏโฐ. กวิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ, วสฺส โป, ฏฺสํโยโค. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ ซ้อน ต.
  29. กพร : (วิ.) หลายสี, ด่าง, พร้อย, ด่างพร้อย. กวฺ วณฺเณ, อโร, วสฺส โพ.
  30. กมฺมช : (วิ.) เกิดแต่กรรม วิ. กมฺมโต ชาโตติ กมฺมโช (วิปาโก). กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ). กมฺมโต ชาตนฺติ มฺมชํ (รูปํ). ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นฺโลโป. กมฺมโต ชาโต กมฺมโช. ต. ตัป., ปญ จ. ตัป.
  31. กวิฏฺฐ : (ปุ.) ต้นมะขวิด วิ. กวิมฺหิ ติฏฺฐตีติ กวิฏฺโฐ. กวโย ติฏฺฐนฺติ เอตฺถาติ กวิฏฺโฐ.
  32. กานน : (นปุ.) ดง, ป่า, หมู่ไม้. วิ. เกน ชเลน อนนํ ปาน มสฺสาติ กานนํ. ฐิ ตมชฺฌนฺติก- สมเย กวติ สทฺทํ กโรติติ วา กานนํ. โกกิลม ยูราทโย กวนฺติ สทฺทายนฺติ กูชนฺติ เอตถาติ วา กานนํ. กุ สทฺเท, ยุ. ส. กานน.
  33. กิลญฺช : (ปุ.) เสื่อ, สาด, ลำแพน, เสื่อลำแพน, เสื่อหยาบ. กิลปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นิคฺคหิตาคโม.
  34. กุจฺฉิฏฺฐ : (ปุ.) กุจฉิฏฐะ ชื่อลมภายในอย่างที่ ๓ ใน ๖ อย่าง, ลมในท้อง. วิ. กุจฺฉิมฺหิ ติฏฺฐตีติ กุจฺฉิฏฺโฐ. กุจฺฉิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺ สํโยโค.
  35. กุลุปก กุลุปค กุลูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงตระกูล, ผู้ประจำตระกูล. วิ. กุลํ อุปคจฺฉตีติ กุลุปโค. กุล+อุป+คมฺธาตุ กฺวิ ปัจ. ที่เป็น กุลปก เพราะแปลง ค เป็น ก กัจฯ ๒๙ รูปฯ ๔๒.
  36. เกฏุภ : (นปุ.) เกฏุภศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วยกิริยา และเป็นชื่อของศาสตร์ที่แสดงลักษณะของ โครงฉันท์ กาพย์ วิ. กิฎนฺติ กวโย โกสลฺลํ พนฺธเนสุ เอเตนาติ เกฎุภํ. กิฏฺ คติยํ, อโภ, อิสฺเส, อสฺสุจ. อถวา, กิฏฺปุพฺโพ, อภฺ ปูรเณ, อ.
  37. เกวล : (วิ.) เดียว, อย่างเดียว, ทั้งปวง, ทั้งมวล ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, สิ้นเชิง, มาก, ส่วนมาก, จำนวนมาก,ไม่ระคน, ล้วน, ล้วนๆ, แข็งแรง ,มั่นคง, โดยมาก, ไกวัล. เกวฺ ชนเน, อโล.
  38. : (วิ.) ไป, ถึง, เป็นไป, นำไป. คมฺ คติยํ, กฺวิ, โร วา.
  39. คณฺฑุปาท คณฺฑุปฺปาท : (ปุ.) สัตว์ผู้ยังปุ๋ย ให้เกิด, ไส้เดือน, รากดิน (ไส้เดือน). วิ. คณฺฑํ วจฺจสนฺนิจยํ อุปฺปาเทตีติ คณฺฑุปฺปา- โท. กฺวิ ปัจ.
  40. โคฏฺฐ : (นปุ.) ที่เป็นที่ดำรงอยู่ของโค, คอกโค. วิ. คาโว ติฏฺฐนฺตฺยตฺราติ โคฏฺฐ. โคสทฺทุปทํ. ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺสํโยโค. ดู คุฏฺฐ ด้วย.
  41. จิตฺตช จิตรช : (วิ.) เกิดแต่จิต วิ. จิตฺตโส ชาโต จิตฺตโช. เกิดในจิต วิ. จิตฺตสฺมึ ชาโต จิตฺตโช. กฺวิ ปัจ. นามกิตก์ จะตอบเป็น ปญจมีตัป. สัตตมีตัป. ก็ได้. โส ปัจ. ลงใน ปัญจมีวิภัติ.
  42. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  43. ตุมฺหาทิส ตุมฺหาทิสี : (วิ.) ผู้เช่นท่าน, เห็น ราวกะว่าซึ่งท่าน, เห็นราวกะว่าท่าน. วิ. ตุมฺห วิย ทิสฺสตีติ ตุมฺหาทิโส ตุมฺหาทิสี วา. ตุมฺหบทหน้า ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. รูปฯ ๕๗๒.
  44. ตุรค ตุรงฺค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปเร็ว, ม้า. วิ. ตุรํ สีฆํ คจฺฉตีติ ตุรโค ตุรงฺโค วา. ตุรปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ, ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม. ส. ตุรค ตุรงฺค ตุรงฺคม.
  45. ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
  46. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  47. นิภา : (อิต.) ความรุ่งเรืองโดยหาเศษมิได้, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสงสว่าง. วิ. นิสฺเสเสน ภาตีติ นิภา. กฺวิ ปัจ. กัจฯ ๖๓๙.
  48. ปถวี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน. ปุถฺ วิตฺถาเร, กฺวิ, ออาคโม. แปลง ปุถฺ เป็น ปุถุ แปลง อุ เป็น อว อุ ที่ ปุ เป็น อ อี อิต. อถวา,ปถวติ เอตฺถา ติ ปถวี. ปปุพฺโพ, ถวฺ คติยํ. สพฺพตฺถ ปตฺถ รตีติ วา ปถวี. ปปุพฺโพ, ถรฺ สนฺถรเณ, รสฺส โว. รูปฯ ๖๖๐ แปลง ปุถ เป็น ปุถุ, ปถ. ที่เป็น ปฐวี เพราะแปลง ถ เป็น ฐ.
  49. ปทค : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหาร ราบ. วิ. ปเทหิ คจฺฉตีติ ปทโค. กฺวิ ปัจ.
  50. ปภา : (อิต.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง, แสงไฟ, ความรุ่งเรือง. ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. ความรุ่งเรืองโดยประการต่าง ๆ วิ. นานาปกาเรน ภาตีติ ปภา. ความรุ่งเรืองโดยประการ วิ. ปกาเรน ภาติ ทิพฺพตีติ ปภา. กัจฯ ๖๓๙ และอภิฯ รูปฯ ๕๖๙ วิ. ปภาตีติ ปภา. อภิฯ กัจฯ และ รูปฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  51. [1-50] | 51-74

(0.0135 sec)